วันพุธที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2558

แผน วิชา Is ม ปลาย

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย           รายวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้    รหัสวิชา I๓๑๒๐๑                   
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔                      ภาคเรียนที่ ๑            ปีการศึกษา  ๒๕๕๘
หน่วยที่ ๑  เปิดประเด็นปัญหา          เรื่อง  การตั้งประเด็นปัญหา                         เวลา ๒ ชั่วโมง
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------                                                                             
๑.  มาตรฐานการเรียนรู้/ผลการเรียนรู้
          มาตรฐานการเรียนรู้
                    ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
ผลการเรียนรู้
                    ตั้งประเด็นปัญหา  จากสถานการณ์ปัจจุบันและสังคมโลก
๒.   ความคิดรวบยอด
          การตั้งประเด็นปัญหาที่ชัดเจน  เลือกประเด็นที่เกี่ยวกับสถานการณ์ปัจจุบันและสังคมโลก  ตั้งวัตถุประสงค์และสมมติฐาน ออกแบบ  วางแผนรวบรวมข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพจะช่วยให้การศึกษา ค้นคว้า แสวงหาคำตอบประสบผลสำเร็จ

๓.  จุดประสงค์การเรียนรู้
          ด้านความรู้(k)
                   อธิบายความหมาย ความสำคัญของการตั้งประเด็นได้
          ด้านกระบวนการ(P)
                   สามารถตั้งประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบันได้อย่างถูกต้อง
          ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์(A)
                   ใฝ่เรียนรู้
                   มุ่งมั่นในการทำงาน
๔. สาระการเรียนรู้
                   การกำหนดประเด็นปัญหา วิธีการสร้างความรู้
๕.  สื่อ/แหล่งเรียนรู้            
                                 -ใบความรู้    เรื่อง การตั้งประเด็นปัญหา
- ใบกิจกรรม  เรื่อง การตั้งประเด็นปัญหา
- วิดีทัศน์  เรื่อง การตั้งประเด็นปัญหา
- วิดีโอ เรื่อง การตั้งประเด็นปัญหา
๖. กระบวนการจัดการเรียนรู้
๖.๑ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
           ๖.๑.๑.  ครูปฐมนิเทศนักเรียนโดยอธิบายรายวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ ซึ่ง            เป็นวิชา
 ใหม่ที่เปิดสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากล ครูให้นักเรียน ๒-๓ คน เล่าถึงการใช้ชีวิตประจำวันของนักเรียน ว่าพบปัญหาอะไรบ้าง และมีวิธีแก้ไขอย่างไร โดยครูอาจกำหนดประเด็นที่สนใจเกี่ยวกับสิ่งใกล้ตัว เพื่อฝึกให้ผู้เรียนได้รู้จักตั้งคาถาม ข้อสงสัย ตั้งสมมุตติฐานตามจินตนาการแล้วมีการค้นคว้า แสวงหาคำตอบจากแหล่งข้อมูลพื้นฐานง่ายๆ เพื่อเป็นแนวทางในการตั้งประเด็น  
          ๖.๒.  ขั้นสอน
                                ๖.๒.๑.  ครูแจกใบความรู้ เรื่องการศึกษาค้นคว้าและการสร้างองค์ความรู้ เพื่อเป็นแนวทางให้นักเรียนหาประเด็นปัญหาง่ายขึ้น
                    ๖.๒.๓.  นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ประเด็นความรู้ที่มีความเชื่อมโยงในศาสตร์หลากหลายสาขาที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ปัจจุบันและสังคมโลกที่มีความท้าทาย
                                 ๖.๒.๓.  ครูแจกใบกิจกรรม  เรื่อง การตั้งประเด็นปัญหาพร้อมอธิบายหลักการในการตั้งประเด็นที่ดีจากสถานการณ์ปัจจุบัน รวมถึงอธิบาย ความหมาย  ความสำคัญ  ประเภทและลักษณะของประเด็นปัญหาที่จะทำการค้นคว้า
                   ๖.๒.๔.  ครูฉายวิดีทัสน์เรื่อง การนำเสนองานให้นักเรียนชม  จากนั้นครูถามคำถาม จะตั้งประเด็นปัญหาจากสถานการณ์ปัจจุบันได้อย่างไร  นักเรียนตอบคำถาม ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับประเด็นปัญหาและแบ่งกลุ่มกลุ่มละ ๔-๕ คนให้นักเรียนตั้งประเด็นปัญหาจากสถานการณ์ปัจจุบัน
                   ๖.๒.๕.  ครูและนักเรียนตรวจสอบการตั้งประเด็นปัญหา โดยใช้กระบวนการกลุ่มในการรวบรวมข้อมูลของแต่ละกลุ่มและวิพากษ์การตั้งประเด็นปัญหา
                   ๖.๒.๖.  นักเรียนนำข้อพิพากษ์มาปรับปรุงผลงานของกลุ่ม
                ๖.๓.  ขั้นสรุป
                     ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปการกำหนดประเด็นความรู้ ธรรมชาติของความรู้ที่เกี่ยวข้องกับวิชาพื้นฐานในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ ซึ่งในรายวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้จะต้องมีโครงร่างที่จะศึกษาเป็นขั้นตอนและมีแบบแผน


๗. การวัดและประเมินผล
เป้าหมาย
หลักฐาน
วิธีวัด
เครื่องมือวัด
สาระสำคัญ
- กำหนดประเด็นปัญหา


-แบบบันทึกประเด็นคำถาม
-ตรวจสอบการตั้งคำถาม
-การสังเกต
-แบบบันทึกการตรวจสอบการตั้งคำถาม
-การสังเกต











ใบความรู้
รายวิชา  การศึกษาค้นคว้าและการสร้างองค์ความรู้
ธรรมชาติวิชา
          การจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนมาตรฐานสากลเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพเป็นพลโลก นอกจากคำนึงถึงคุณลักษณะและธรรมชาติของผู้เรียนแล้วควรคำนึงถึงการทำงานของสมองธรรมชาติ การจัดสภาพและบรรยากาศการเรียนรู้ ความต้องการ ความสนใจของผู้เรียนและปัจจัยอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ซึ่งผู้เรียนแต่ละคนมีคุณลักษณะและธรรมชาติที่เหมือนหรือคล้ายกันและมีความแตกต่างกันไปตามวัย การเข้าใจคุณลักษณะและธรรมชาติของผู้เรียนจะช่วยให้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประสบผลสำเร็จ สำหรับผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นวัยเปลี่ยนแปลงทางร่างกายอารมณ์และสังคม สนใจให้ความสำคัญกับเพื่อนอยากลอง ชอบความท้าทาย ชอบอิสระเชื่อมั่นในตนเอง ชอบแสวงหาความรู้ รู้จักใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ มีทักษะทางภาษาวิเคราะห์และเลือกใช้ข้อมูลอย่างๆเหมาะสม มีทักษะการคิดขั้นสูง รู้จักความสามารถของตนเอง รักและเห็นคุณค่าในตนเอง รู้จักเลือกอาชีพต่างๆ
          ในรายวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้  หมายถึง การคิดค้นสิ่งใหม่ๆหรือการพัฒนาสิ่งเดิมให้มีองค์ความรู้มากยิ่งขึ้น เป็นทักษะสำคัญของการศึกษา ภายใต้ความเจริญก้าวหน้าที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา การศึกษาด้วยตนเองมีความมุ่งหมายที่จะพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง  เกี่ยวกับประเด็นที่สนใจ อย่างเป็นระบบ เพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจ อีกทั้งได้พัฒนาทักษะการคิด ตระหนักถึงความสำคัญและวิธีการศึกษาของตนเองและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้ตลอดชีวิต

ความหมายของความรู้
          ความรู้ (Knowledge) คือ อะไร?
ความรู้ คือ สารสนเทศที่นำไปสู่การปฏิบัติ เป็นเนื้อหาข้อมูล ซึ่งประกอบด้วยข้อเท็จจริง ความคิดเห็น ทฤษฎี หลักการ รูปแบบ กรอบความคิด หรือข้อมูลอื่นๆ ที่มีความจำเป็น และเป็นกรอบของการผสมผสานระหว่างประสบการณ์ ค่านิยม ความรอบรู้ในบริบท สำหรับการประเมินค่า และการนำเอาประสบการณ์กับสารสนเทศใหม่ ๆ มาผสมรวมเข้าด้วยกัน
  
ชั้นของความรู้เป็นอย่างไร?
       ๑. ข้อมูล (Data) เป็น ข้อมูลดิบที่ยังไม่ได้ผ่านกระบวนการประมวลผล หรือเป็นกลุ่มของข้อมูลดิบที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน
       ๒. สารสนเทศ (Information) เป็น ข้อมูลที่ผ่านกระบวนการประมวลผลโดยรวบรวมและสังเคราะห์เอาเฉพาะข้อมูลที่มีความหมายและเป็นประโยชน์ต่องานที่ทำ
       ๓. ความเฉลียวฉลาด (Wisdom) เป็น การนำเอาความรู้ต่าง ๆ มาบูรณาการเข้าด้วยกันเพื่อใช้ให้เกิดเป็นประโยชน์ต่อการทำงานในสาขาวิชาชีพต่าง ๆ                                                                             
       ๔. เชาวน์ปัญญา (Intelligence) เป็น ผลจากการปรุงแต่งและจดจำความรู้และใช้ความเฉลียวฉลาดต่าง ๆในสมอง ทำให้เกิดความคิดที่รวดเร็วและฉับไว สามารถใช้ความรู้และความเฉลียวฉลาดโดยใช้ช่วงเวลาสั้นกว่า หากนำเอามาจัดลำดับเป็นขั้นตอนของการเรียนรู้สำหรับมนุษย์แต่ละบุคคลจะได้ดังนี้



ประเภทของความรู้มีอะไรบ้าง?
1. ความรู้ในตัวของมนุษย์หรือความรู้โดยนัย (Tacit Knowledge) หมายถึง ความรู้เฉพาะตัวที่เกิดจากประสบการณ์ การศึกษา การสนทนา การฝึกอบรม เจตคติของแต่ละบุคคล เป็นความรู้บวกกับสติปัญญาและประสบการณ์
2. ความรู้เชิงประจักษ์ที่ปรากฏชัดเจน (Explicit Knowledge) หมายถึง ความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอดจากบุคคลออกมาในรูปของการบันทึกตามรูปแบบต่างๆ ซึ่งเป็นสารสนเทศนั่นเอง
3. ความรู้ที่เกิดจากวัฒนธรรม (Culture Knowledge) หมายถึง ความรู้ที่เกิดจากความเชื่อ ความศรัทธา ซึ่งเกิดจากผลสะท้อนกลับของความรู้ และสภาพแวดล้อมทั่วไปขององค์กร

ประเภทความรู้ในตัวคนมีอะไรบ้าง?
ความรู้ในตัวคนเป็นความรู้ที่ฝังลึกอยู่ในแต่ละบุคคล การที่ความรู้จากใครคนหนึ่งจะถูกถ่ายทอดไปยังบุคคลอื่นได้นั้นเป็นเรื่องที่ยากหากเจ้าตัวไม่ยินยอม ดังนั้นการขอรับการถ่ายทอดความรู้จากบุคคลผู้รู้เหล่านี้ จะทำได้ดังนี้
การสนทนา (Face-to-face Conversation) 2. การนำทีมและฝึกอบรม (Mentoring & Training) 3. อบรมเข้มข้น (Coaching) ประมวลผล Intelligence Data Information Knowledge Wisdom ขัดเกลา / เลือกใช้ บูรณาการ ปรับแต่ง / จดจำ
ประโยชน์ของการจัดการความรู้
เป้าหมายหลักของการจัดการความรู้ คือ การใช้ประโยชน์จากความรู้มาเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดำเนินงานขององค์การเพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันขององค์การ  การจัดการความรู้มีความสำคัญอย่างยิ่ง  ไม่ว่าจะเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วหรือกำลังพัฒนาก็ตาม ดังนั้นการจัดการความรู้จึงมีประโยชน์อย่างยิ่งสำหรับองค์กร เป้าหมายที่สำคัญของการจัดการความรู้ในองค์กรก็เพื่อปรับปรุงกระบวนการดำเนินงานทางธุรกิจที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน พัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ๆ ปรับปรุงเทคนิค กระบวนการ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และนำความรู้นั้นไปใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุด ดังนั้น















ใบกิจกรรมที่ ๑ การตั้งประเด็นคำถาม
ชื่อกลุ่ม.................................................................................................................ชั้น..................................
สมาชิกในกลุ่ม   ๑...................................................... เลขที่ ................เบอร์โทรศัพท์ ..............................
๒...................................................... เลขที่ ................เบอร์โทรศัพท์ ...............................๓...................................................... เลขที่ ................เบอร์โทรศัพท์ ...............................
๔...................................................... เลขที่ ................เบอร์โทรศัพท์ ...............................     ๕...................................................... เลขที่ ................เบอร์โทรศัพท์ ...............................

สถานการณ์,เรื่องราว,เหตุการณ์ที่นำไปสู่การตั้งประเด็น
          ...............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................


ประเด็นคำถาม
เหตุผลที่สำคัญ
..................................................................................
..................................................................................
.................................................................................
.................................................................................

………………………………………………………….………....
…………………………………………….……………………….
..............................................................................
..............................................................................
.................................................................................
.................................................................................
..................................................................................
.................................................................................

................................................................................
……………………………………………………………………….
……………………………………………………………………….
……………………………………………………………………….
………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………...
………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………..

………………………………………………………………………
……………………………………………………………………….
……………………………………………………………………….
……………………………………………………………………….

ตัดสินใจเลือกประเด็นคำถามที่  ........................................................................................................................
เหตุผลที่สำคัญ …………………………………………………………………………………………………………………………………....
………………………………………………………………………………………………..…………..….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………


จากประเด็นคำถามที่เลือกตั้งเป็นหัวข้อเรื่องได้ดังนี้
.........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

รายชื่อครูที่ปรึกษา
๑. ……………………………………………………………………………………………ลายมือชื่อ........................................
๒. .........................................................................................................ลายมือชื่อ.....................................


ระดับคุณภาพ

ดีเยี่ยม(4)
ดี (3)
พอใช้(2)
ปรับปรุง(1)
กำหนดหัวข้อเรื่อง
-           ด้วยตนเอง
-           ชัดเจน
-           ครอบคลุมปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
-           เชื่อมโยงชุมชน/ท้องถิ่น/ประเทศ
-           แปลกใหม่และสร้างสรรค์
-           มีความเป็นไปได้
กำหนดหัวข้อเรื่อง
-           ครูผู้ช่วย
-           ชัดเจน
-           ครอบคลุมปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
-           เชื่อมโยงชุมชน/ท้องถิ่น/ประเทศ
-           มีความเป็นไปได้
กำหนดหัวข้อเรื่อง
-           ครูช่วยชี้แนะ
-           ชัดเจน
-           ไม่ครอบคลุมปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
-           เชื่อมโยงชุมชน/ท้องถิ่น/ประเทศ
-           มีความเป็นไปได้

กำหนดหัวข้อเรื่อง
-           ใช้หัวข้อเรื่องที่ครูกำหนดให้















บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
๑. ผลการจัดการเรียนรู้
          ๑.๑ ด้านความรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
          ๑.๒ ด้านทักษะกระบวนการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
          ๑.๓ ด้านคุณลักษณะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๒. ปัญหาที่ต้องพัฒนา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๓. ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
๔. ความคิดเห็นของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................




    .....................................................
      (........................................................)
 ตำแหน่ง................................................................                                                                                                



ลงชื่อ...........................................................
       (นางสาวประภาพร  นามเขตร์)
         นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพฯ





แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย           รายวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้    รหัสวิชา I๓๑๒๐๑                   
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔                      ภาคเรียนที่ ๑            ปีการศึกษา  ๒๕๕๘
                     หน่วยที่ ๑  เปิดประเด็นปัญหา          เรื่อง  การตั้งสมมติฐาน                     เวลา ๒ ชั่วโมง
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
๑. ผลการเรียนรู้ ตั้งสมมติฐานประเด็นที่ตนเองสนใจ

๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ 
๑. อธิบายหลักการเขียนสมมติฐานได้
๒. เขียนสมมติฐานได้

๓. สาระสำคัญ  การตั้งประเด็นปัญหาที่ชัดเจน โดยเลือกประเด็นที่ตนสนใจ เริ่มต้นจากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศและในสังคมโลก  การตั้งสมมติฐานโดยใช้ความรู้จากศาสตร์ต่างๆ  และออกแบบวางแผนใช้กระบวนการรวบรวมข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพจะช่วยให้การศึกษาค้นคว้าแสวงหาคำตอบประสบผลสำเร็จ
๔.  สาระการเรียนรู้
๔.๑. ความรู้   การกำหนดสมมติฐาน
          ๔.๒. ทักษะ/กระบวนการ   การตั้งสมมติฐานและจุดประสงค์
 ๕. คุณลักษณะ  
           - มุ่งมั่นในการทำงาน                                                                                                   ๖. สมรรถนะสำคัญ 
- ความสามารถในการคิด
๗.  กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ
๗.๑ ครูสนทนากับนักเรียนในเรื่องงานที่มอบหมายคือการตั้งประเด็นปัญหา  ครูสอบถามนักเรียนเกี่ยวกับประเด็นปัญหาว่านักเรียนต้องการรู้อะไรในประเด็นปัญหาที่นักเรียนเลือก และนักเรียนมีวิธีใดที่จะช่วยกันแก้ปัญหานั้นได้

ขั้นสอน
          ๗.๒ ครูอธิบายการตั้งสมมติฐานพร้อมให้นักเรียนศึกษาใบความรู้
                ๗.๓ ครูยกประเด็นปัญหาที่นักเรียนนำส่ง ๑ ประเด็น
          ๗.๔ ครูสอบถามนักเรียน ๑-๒ คน ว่าการตั้งสมมติฐานประเด็นที่นักเรียนสนใจมีวิธีการอย่างไร
          ๗.๕ ครูนำประเด็นการตั้งปัญหาที่นักเรียนนำส่งมาช่วยกันตรวจสอบกับนักเรียน เพื่อให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น โต้แย้งและอภิปราย ให้เห็นเกี่ยวกับการการแก้ไขประเด็นปัญหานั้นๆ
          ๗.๖ นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันตั้งสมมติฐานจากประเด็นปัญหาที่ตั้งขึ้น และบันทึกลงใบกิจกรรมที่ ๒

ขั้นสรุป
๗.๗ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปการการตั้งสมมติฐาน
๗.๘ ครูแนะนำนักเรียนให้สืบค้นข้อมูลจากสื่ออินเทอร์เน็ตและใช้ทักษะการคิดในการแก้ปัญหาหรือไปใช้แหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกโรงเรียน

๘.การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการกับกิจกรรมการเรียนรู้
๘.๑  ผู้สอนใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
หลักพอเพียง
พอประมาณ
มีเหตุผล
ภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
เวลา
ครูใช้เวลาที่เหมาะสม
จัดสรรเวลาให้เป็นไปอย่างราบรื่น
จัดสรรเวลาให้ผู้เรียนที่ไม่ร่วมกิจกรรม
เนื้อหา
เนื้อหาสอดคล้องกับผลการเรียนรู้

มีความมุ่งมั่นให้นักเรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์การตั้งประเด็นปัญหา
วางแผนจัดกิจกรรมอย่างมีระบบ
การจัดกิจกรรม
เหมาะสมกับระดับผู้เรียน
เรียนจากเรื่องง่ายไปยาก
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองเมื่อครูจัดกิจกรรมตามลำดับ
ถ้ากิจกรรมไม่เป็นไปตามกำหนด ครูมอบหมายงานให้ผู้เรียนไปค้นนอกเวลา
สื่อ อุปกรณ์
มีเพียงพอกับการศึกษา
เมื่อมีอุปกรณ์พร้อมผู้เรียนสนใจที่จะเรียนรู้
มีอุปกรณ์เหมาะสมกับกิจกรรมช่วยลดภาระครูสอนแทน
แหล่งเรียนรู้
จัดเตรียมสื่อ/แหล่งเรียนรู้ตามความเหมาะสมกับกิจกรรม
กระตุ้นให้ผู้เรียนศึกษาแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกโรงเรียน
ครูตรวจสอบความปลอดภัยของสื่อและแหล่งเรียนรู้
การวัดประเมินผล
ใช้วิธีหลากหลายเหมาะสมกับเวลาที่จัดกิจกรรม
เลือกวิธีที่เหมาะสมสามารถนำผู้เรียนสู่เป้าหมายได้
ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวัดผล
มีคำอธิบายให้ครูที่สอนแทนเข้าใจ
เงื่อนไขความรู้
มาตรฐาน สาระการเรียนรู้  ผลการเรียนรู้  การจัดกิจกรรม สื่อ/แหล่งเรียนรู้
เนื้อหาเรื่อง การตั้งประเด็นปัญหา การตั้งสมมติฐาน  การออกแบบรวบรวมข้อมูล
เงื่อนไขคุณธรรม
มุ่งมั่นทำงาน  ความพยายาม  ใฝ่เรียนรู้

๘.๒ ผู้เรียนมีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง
พอประมาณ
มีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
ผู้เรียนทำกิจกรรมตามที่ครูมอบหมาย โดยแบ่งหน้าที่ตามความสามารถ ความถนัด
ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
ผู้เรียนวางแผน จัดสรรเวลา
มีความรับผิดชอบงานที่ครูมอบหมาย
เงื่อนไขความรู้
ผู้เรียนรู้จักการตั้งประเด็นปัญหา การออกแบบรวบรวมข้อมูล
เงื่อนไขคุณธรรม
ผู้เรียนมีค่านิยมการเขียนอย่างสร้างสรรค์ มีความรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย

๘.๓  ผลลัพธ์ ( KPA ) ๔ มิติเกี่ยวข้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
                 
สาระการเรียนรู้
อยู่อย่างพอเพียง..............สมดุลพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
วัตถุ
สังคม
สิ่งแวดล้อม
วัฒนธรรม
ความรู้
มีทรัพยากร สื่อให้สืบค้นอย่างพอเพียง
ได้ศึกษาแนวทางการตั้งประเด็นปัญหาจากสื่อต่างๆและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม
เข้าใจประเด็นปัญหาและหาวิธีการแก้ไข
ตระหนักถึงคุณค่าของการศึกษาค้นคว้าอย่างสร้างสรรค์
ทักษะ
เลือกศึกษาประเด็นที่ตนสนใจ
รู้หน้าที่ของตนเอง
เขียนประเด็นปัญหา ขอบเขตแต่ละส่วนให้สัมพันธ์กัน
มีมารยาทในการเขียนไม่ลอกงานผู้อื่น
ค่านิยม
เห็นคุณค่าและประโยชน์ของการศึกษา
ยอมรับและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น
มีค่านิยมในการอนุรักษ์ภาษาไทย
สร้างความตระหนักในการอนุรักษ์ภาษาไทย

๙. สื่อและแหล่งเรียนรู้
สื่อ      :         ใบกิจกรรมที่ ๒ การตั้งสมมุติฐาน
แหล่งเรียนรู้    : ห้องสมุดทั้งในและนอกโรงเรียน  อินเทอร์เน็ต

๑๐. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เป้าหมาย
หลักฐาน
วิธีวัด
เครื่องมือวัด
สาระสำคัญ
การตั้งสมมติฐาน


แบบบันทึกการตั้งสมมติฐาน
ตรวจสอบการตั้งสมมติฐาน
แบบบันทึกการตั้งสมมติฐาน







บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
๑. ผลการจัดการเรียนรู้
          ๑.๑ ด้านความรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
          ๑.๒ ด้านทักษะกระบวนการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
          ๑.๓ ด้านคุณลักษณะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๒. ปัญหาที่ต้องพัฒนา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๓. ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
๔. ความคิดเห็นของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................




    .....................................................
      (........................................................)
 ตำแหน่ง................................................................                                                                                                



ลงชื่อ...........................................................
       (นางสาวประภาพร  นามเขตร์)
         นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพฯ





ใบกิจกรรมที่ ๒ การตั้งสมมุติฐาน

สถานการณ์
...................................................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………….
สมมุติฐาน
.........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
วัตถุประสงค์
1. เพื่อ ...................................................................................................................................................
2. เพื่อ ...................................................................................................................................................
3. เพื่อ ……………………………………………………………………………………………..…………………………………...
…………………………………………………………...……………………………………………………….….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………
ประโยชน์ที่ได้รับ
 1. ……………………………………………………………………………………………………………………………….
 2. ……………………………………………………………………………………………………………………………….
 3. ……………………………………………………………………………………………………………………………….
(ประโยชน์ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า โดยเขียนเป็นข้อ ๆ อ้างอิงจากวัตถุประสงค์)

















แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย           รายวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้    รหัสวิชา I๓๑๒๐๑                   
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔                      ภาคเรียนที่ ๑            ปีการศึกษา  ๒๕๕๘
                     หน่วยที่ ๑  เปิดประเด็นปัญหา          เรื่อง  การเขียนจุดประสงค์                เวลา ๒ ชั่วโมง
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
๑. ผลการเรียนรู้ ตั้งสมมติฐานประเด็นที่ตนเองสนใจ

๒. จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. อธิบายหลักการเขียนจุดประสงค์ได้
๒. เขียนจุดประสงค์ให้สอดคล้องกับประเด็นปัญหาได้

๓. สาระสำคัญ  การตั้งประเด็นปัญหาที่ชัดเจน โดยเลือกประเด็นที่ตนสนใจ เริ่มต้นจากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศและในสังคมโลก  การตั้งสมมติฐานโดยใช้ความรู้จากศาสตร์ต่างๆ  และออกแบบวางแผนใช้กระบวนการรวบรวมข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพจะช่วยให้การศึกษาค้นคว้าแสวงหาคำตอบประสบผลสำเร็จ
๔. สาระการเรียนรู้
          ๔.๑ ความรู้   การกำหนดประเด็นปัญหา วิธีการสร้างความรู้
๔.๒ ทักษะ/กระบวนการ   การตั้งประเด็นปัญหา                                                                              ๕. คุณลักษณะที่พึงประสงค์  
๕.๑ ใฝ่เรียนรู้   
๕.๒ มุ่งมั่นในการทำงาน                                               
๖. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 
๖.๑ ความสามารถในการคิด
๖.๒ ความสามารถในการแก้ปัญหา
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ
๗.๑ ครูสนทนากับนักเรียนในเรื่องการตั้งสมมติฐาน  ครูสอบถามนักเรียนเกี่ยวกับประเด็นปัญหาว่านักเรียนต้องการรู้อะไรในประเด็นปัญหาที่นักเรียนเลือก และนักเรียนมีวิธีใดที่จะช่วยกันแก้ปัญหานั้นได้

ขั้นสอน
          ๗.๒ ครูอธิบายการเขียนจุดประสงค์พร้อมให้นักเรียนศึกษาใบความรู้  พร้อมเปิด Power Point เรื่อง การแยกจุดประสงค์ อธิบายตาม
                ๗.๓ ครูยกประเด็นปัญหาที่นักเรียนนำส่ง ๑ ประเด็น และสอบถามนักเรียนว่านักเรียนต้องการรู้อะไรเกี่ยวกับประเด็นปัญหานั้น
          ๗.๔ นักเรียน ๑-๒ คน ตอบประเด็นที่ตนสนใจ และให้ใช้คำตอบมาตั้งเป็นประเด็นคำถาม
          ๗.๕ นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันเขียนจุดประสงค์และบันทึกลงใบกิจกรรมที่ ๒ โดยใช้เวลา ๓๐ นาที
          ๗.๖ นักเรียนส่งงานให้ครูตรวจและนำข้อผิดพลาดไปแก้ไข
ขั้นสรุป
๗.๗ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปการเขียนจุดประสงค์

๘. การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการกับกิจกรรมการเรียนรู้
๘.๑  ผู้สอนใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
หลักพอเพียง
พอประมาณ
มีเหตุผล
ภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
เวลา
ครูใช้เวลาที่เหมาะสม
จัดสรรเวลาให้เป็นไปอย่างราบรื่น
จัดสรรเวลาให้ผู้เรียนที่ไม่ร่วมกิจกรรม
เนื้อหา
เนื้อหาสอดคล้องกับผลการเรียนรู้

มีความมุ่งมั่นให้นักเรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์การตั้งประเด็นปัญหา
วางแผนจัดกิจกรรมอย่างมีระบบ
การจัดกิจกรรม
เหมาะสมกับระดับผู้เรียน
เรียนจากเรื่องง่ายไปยาก
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองเมื่อครูจัดกิจกรรมตามลำดับ
ถ้ากิจกรรมไม่เป็นไปตามกำหนด ครูมอบหมายงานให้ผู้เรียนไปค้นนอกเวลา
สื่อ อุปกรณ์
มีเพียงพอกับการศึกษา
เมื่อมีอุปกรณ์พร้อมผู้เรียนสนใจที่จะเรียนรู้
มีอุปกรณ์เหมาะสมกับกิจกรรมช่วยลดภาระครูสอนแทน
แหล่งเรียนรู้
จัดเตรียมสื่อ/แหล่งเรียนรู้ตามความเหมาะสมกับกิจกรรม
กระตุ้นให้ผู้เรียนศึกษาแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกโรงเรียน
ครูตรวจสอบความปลอดภัยของสื่อและแหล่งเรียนรู้
การวัดประเมินผล
ใช้วิธีหลากหลายเหมาะสมกับเวลาที่จัดกิจกรรม
เลือกวิธีที่เหมาะสมสามารถนำผู้เรียนสู่เป้าหมายได้
ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวัดผล
มีคำอธิบายให้ครูที่สอนแทนเข้าใจ
เงื่อนไขความรู้
มาตรฐาน สาระการเรียนรู้  ผลการเรียนรู้  การจัดกิจกรรม สื่อ/แหล่งเรียนรู้
เนื้อหาเรื่อง การตั้งประเด็นปัญหา การตั้งสมมติฐาน  การออกแบบรวบรวมข้อมูล
เงื่อนไขคุณธรรม
มุ่งมั่นทำงาน  ความพยายาม  ใฝ่เรียนรู้

๘.๒ ผู้เรียนมีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง
พอประมาณ
มีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
ผู้เรียนทำกิจกรรมตามที่ครูมอบหมาย โดยแบ่งหน้าที่ตามความสามารถ ความถนัด
ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
ผู้เรียนวางแผน จัดสรรเวลา
มีความรับผิดชอบงานที่ครูมอบหมาย
เงื่อนไขความรู้
ผู้เรียนรู้จักการตั้งจุดประสงค์
เงื่อนไขคุณธรรม
ผู้เรียนมีค่านิยมการเขียนอย่างสร้างสรรค์ มีความรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย

๘.๓  ผลลัพธ์ ( KPA ) ๔ มิติเกี่ยวข้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
                 
สาระการเรียนรู้
อยู่อย่างพอเพียง..............สมดุลพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
วัตถุ
สังคม
สิ่งแวดล้อม
วัฒนธรรม
ความรู้
มีทรัพยากร สื่อให้สืบค้นอย่างพอเพียง
ได้ศึกษาแนวทางการตั้งประเด็นปัญหาจากสื่อต่างๆและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม
เข้าใจประเด็นปัญหาและหาวิธีการแก้ไข
ตระหนักถึงคุณค่าของการศึกษาค้นคว้าอย่างสร้างสรรค์
ทักษะ
เลือกศึกษาประเด็นที่ตนสนใจ
รู้หน้าที่ของตนเอง
เขียนประเด็นปัญหา ขอบเขตแต่ละส่วนให้สัมพันธ์กัน
มีมารยาทในการเขียนไม่ลอกงานผู้อื่น
ค่านิยม
เห็นคุณค่าและประโยชน์ของการศึกษา
ยอมรับและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น
มีค่านิยมในการอนุรักษ์ภาษาไทย
สร้างความตระหนักในการอนุรักษ์ภาษาไทย

๙. สื่อและแหล่งเรียนรู้
สื่อ      :         ใบกิจกรรมที่ ๓  เรื่อง แผนภูมิแยกจุดประสงค์
                   Power Point  เรื่องการแยกจุดประสงค์
แหล่งเรียนรู้      : ห้องสมุดทั้งในและนอกโรงเรียน  อินเทอร์เน็ต
๑๐.การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เป้าหมาย
หลักฐาน
วิธีวัด
เครื่องมือวัด
สาระสำคัญ
การเขียนจุดประสงค์


แบบบันทึกการเขียนจุดประสงค์
ตรวจสอบการเขียนจุดประสงค์
แบบบันทึกการเขียนจุดประสงค์








บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
๑. ผลการจัดการเรียนรู้
          ๑.๑ ด้านความรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
         
๑.๒ ด้านทักษะกระบวนการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
          ๑.๓ ด้านคุณลักษณะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๒. ปัญหาที่ต้องพัฒนา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๓. ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
๔. ความคิดเห็นของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................




    .....................................................
      (........................................................)
 ตำแหน่ง................................................................                                                                                                 



ลงชื่อ...........................................................
       (นางสาวประภาพร  นามเขตร์)
         นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพฯ




กิจกรรมที่ ๓ แผนภูมิแยกจุดประสงค์ (Mindmapping)
คำชี้แจง: ให้นักเรียนแยกจุดประสงค์ของแต่ละประเด็นที่นักเรียนตั้งขึ้น โดยทำเป็นแผนภูมิภาพ




































แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย           รายวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้    รหัสวิชา I๓๑๒๐๑                   
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔                      ภาคเรียนที่ ๑            ปีการศึกษา  ๒๕๕๘
หน่วยที่ ๑  เปิดประเด็นปัญหา          เรื่อง  การออกแบบ วางแผน รวบรวมข้อมูล          เวลา ๒ ชั่วโมง
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
๑. ผลการเรียนรู้ ออกแบบวางแผน รวบรวมข้อมูล
๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ 
๑.  อธิบายวิธีการออกแบบ วางแผนรวบรวมข้อมูลได้
๒.  เขียนขั้นตอนการออกแบบ วางแผนรวบรวมข้อมูลได้

๓.สาระสำคัญ  การตั้งประเด็นปัญหาที่ชัดเจน โดยเลือกประเด็นที่สนใจ เริ่มจากสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในประเทศและสังคมโลก  การตั้งสมมติฐานโดยใช้ความรู้จากศาสตร์ต่างๆ  และออกแบบวางแผนใช้กระบวนการรวบรวมข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพจะช่วยให้การศึกษาค้นคว้าแสวงหาคำตอบประสบผลสำเร็จ
๔. สาระการเรียนรู้
          ๔.๑ ความรู้   การกำหนดประเด็นปัญหา วิธีการสร้างความรู้
๔.๒ ทักษะ/กระบวนการ   การตั้งประเด็นปัญหา                                                                               ๕. คุณลักษณะที่พึงประสงค์  
๕.๑ ใฝ่เรียนรู้   
๕.๒ มุ่งมั่นในการทำงาน                                     
๖. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 
๖.๑ ความสามารถในการคิด
๖.๒ ความสามารถในการแก้ปัญหา
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ
๗.๑ ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับงานที่ครูมอบหามายคือการตั้งประเด็นปัญหาและการตั้งสมมติฐานซึ่งเป็นการเริ่มต้นของการเรียนรู้  ครูอธิบายเพิ่มเติมว่าการจะทำงานแต่ละชิ้นต้องมีการวางแผน ขั้นตอนดำเนินงาน  ดังรายวิชาที่นักเรียนกำลังเรียนรู้

ขั้นสอน
          ๗.๒ ครูตั้งคำถามว่า  นักเรียนมีวิธีการและขั้นตอนในการทำงานอย่างไรในเรื่องที่ต้องการศึกษา
          ๗.๓ ครูยกตัวอย่างการทำรายงานนักเรียนต้องวางแผน การลำดับขั้นตอน การรวบรวมข้อมูล การวางโครงเรื่อง การวางหัวข้อให้สอดคล้อง ความสำคัญก่อนหลัง ตามลำดับ
๗.๔ นักเรียนศึกษาตัวอย่างรายงานเชิงวิชาการ
๗.๕ นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันระดมสมองการวางแผนรวบรวมข้อมูลโดยบันทึกลงในใบกิจกรรม ใช้เวลา ๓๐ นาที
         
          ๗.๖ ครูเปิด power point เรื่อง ลักษณะรายงานที่ดี ให้นักเรียนจดงานลงสมุด
ขั้นสรุป
          ๗.๗ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปการออกแบบ วางแผน  รวบรวมความรู้
๘. การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการกับกิจกรรมการเรียนรู้
   ๘.๑  ผู้สอนใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
หลักพอเพียง
พอประมาณ
มีเหตุผล
ภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
เวลา
ครูใช้เวลาที่เหมาะสม
จัดสรรเวลาให้เป็นไปอย่างราบรื่น
จัดสรรเวลาให้ผู้เรียนที่ไม่ร่วมกิจกรรม
เนื้อหา
เนื้อหาสอดคล้องกับผลการเรียนรู้

มีความมุ่งมั่นให้นักเรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์การตั้งประเด็นปัญหา
วางแผนจัดกิจกรรมอย่างมีระบบ
การจัดกิจกรรม
เหมาะสมกับระดับผู้เรียน
เรียนจากเรื่องง่ายไปยาก
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองเมื่อครูจัดกิจกรรมตามลำดับ
ถ้ากิจกรรมไม่เป็นไปตามกำหนด ครูมอบหมายงานให้ผู้เรียนไปค้นนอกเวลา
สื่อ อุปกรณ์
มีเพียงพอกับการศึกษา
เมื่อมีอุปกรณ์พร้อมผู้เรียนสนใจที่จะเรียนรู้
มีอุปกรณ์เหมาะสมกับกิจกรรมช่วยลดภาระครูสอนแทน
แหล่งเรียนรู้
จัดเตรียมสื่อ/แหล่งเรียนรู้ตามความเหมาะสมกับกิจกรรม
กระตุ้นให้ผู้เรียนศึกษาแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกโรงเรียน
ครูตรวจสอบความปลอดภัยของสื่อและแหล่งเรียนรู้
การวัดประเมินผล
ใช้วิธีหลากหลายเหมาะสมกับเวลาที่จัดกิจกรรม
เลือกวิธีที่เหมาะสมสามารถนำผู้เรียนสู่เป้าหมายได้
ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวัดผล
มีคำอธิบายให้ครูที่สอนแทนเข้าใจ
เงื่อนไขความรู้
มาตรฐาน สาระการเรียนรู้  ผลการเรียนรู้  การจัดกิจกรรม สื่อ/แหล่งเรียนรู้
เนื้อหาเรื่อง การตั้งประเด็นปัญหา การตั้งสมมติฐาน  การออกแบบรวบรวมข้อมูล
เงื่อนไขคุณธรรม
มุ่งมั่นทำงาน  ความพยายาม  ใฝ่เรียนรู้

๘.๒ ผู้เรียนมีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง
พอประมาณ
มีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
ผู้เรียนทำกิจกรรมตามที่ครูมอบหมาย โดยแบ่งหน้าที่ตามความสามารถ ความถนัด
ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
ผู้เรียนวางแผน จัดสรรเวลา
มีความรับผิดชอบงานที่ครูมอบหมาย
เงื่อนไขความรู้
ผู้เรียนรู้จักการตั้งประเด็นปัญหา การออกแบบรวบรวมข้อมูล
เงื่อนไขคุณธรรม
ผู้เรียนมีค่านิยมการเขียนอย่างสร้างสรรค์ มีความรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย


๘.๓  ผลลัพธ์ ( KPA ) ๔ มิติเกี่ยวข้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
                 
สาระการเรียนรู้
อยู่อย่างพอเพียง..............สมดุลพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
วัตถุ
สังคม
สิ่งแวดล้อม
วัฒนธรรม
ความรู้
มีทรัพยากร สื่อให้สืบค้นอย่างพอเพียง
ได้ศึกษาแนวทางการตั้งประเด็นปัญหาจากสื่อต่างๆและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม
เข้าใจประเด็นปัญหาและหาวิธีการแก้ไข
ตระหนักถึงคุณค่าของการศึกษาค้นคว้าอย่างสร้างสรรค์
ทักษะ
เลือกศึกษาประเด็นที่ตนสนใจ
รู้หน้าที่ของตนเอง
เขียนประเด็นปัญหา ขอบเขตแต่ละส่วนให้สัมพันธ์กัน
มีมารยาทในการเขียนไม่ลอกงานผู้อื่น
ค่านิยม
เห็นคุณค่าและประโยชน์ของการศึกษา
ยอมรับและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น
มีค่านิยมในการอนุรักษ์ภาษาไทย
สร้างความตระหนักในการอนุรักษ์ภาษาไทย


๙. สื่อและแหล่งเรียนรู้
สื่อ      :   power point เรื่อง ลักษณะรายงานที่ดี
แหล่งเรียนรู้      : ห้องสมุดทั้งในและนอกโรงเรียน

๑๐. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เป้าหมาย
หลักฐาน
วิธีวัด
เครื่องมือวัด
สาระสำคัญ
การออกแบบวางแผนรวบรวมข้อมูล

การเรียนรู้ ข้อที่ ๓
แบบบันทึกการออกแบบวางแผนรวบรวมข้อมูล
ประเมินการวางแผนการทำงาน
แบบบันทึกการออกแบบวางแผนรวบรวมข้อมูล
คุณลักษณะ
มุ่งมั่นในการทำงาน


บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
๑. ผลการจัดการเรียนรู้
          ๑.๑ ด้านความรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
          ๑.๒ ด้านทักษะกระบวนการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
          ๑.๓ ด้านคุณลักษณะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๒. ปัญหาที่ต้องพัฒนา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๓. ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
๔. ความคิดเห็นของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................




    .....................................................
      (........................................................)
 ตำแหน่ง................................................................                                                                                                



ลงชื่อ...........................................................
       (นางสาวประภาพร  นามเขตร์)
         นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพฯ





แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย           รายวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้    รหัสวิชา I๓๑๒๐๑                   
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔                         ภาคเรียนที่ ๑            ปีการศึกษา  ๒๕๕๘
                   หน่วยที่ ๒  ปรารถนาคำตอบ           เรื่อง  แหล่งเรียนรู้                     เวลา ๒ ชั่วโมง
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๑.ผลการเรียนรู้  ศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้เกี่ยวกับประเด็นที่เลือก จากแหล่งเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ

๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ 
๑.  อธิบายประเภทแหล่งเรียนรู้ได้
๒.  ใช้แหล่งเรียนรู้ในการศึกษาค้นคว้าได้ถูกต้อง
๓. สาระสำคัญ การศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้เกี่ยวกับประเด็นที่เลือกจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย การตรวจสอบความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มาของข้อมูล  ในการวิเคราะห์จะช่วยให้ได้ข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือและมีคุณภาพ
๔.  สาระการเรียนรู้
๔.๑. ความรู้   การศึกษาค้นว้าจากทฤษฎีความรู้ของ ๘ กลุ่มสาระ  รู้จักใช้แหล่งเรียนรู้
๔.๒. ทักษะ/กระบวนการ  
การสืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้
๔.๓. คุณลักษณะ  
มุ่งมั่นในการทำงาน                                                                                                ๔.๔.  สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน  
ความสามารถในการคิด 
การใช้เทคโนโลยี
๕. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ
        ๕.๑ ครูสนทนากับนักเรียนว่านักเรียนเคยไปใช้แหล่งเรียนรู้ใดบ้าง มีความแตกต่างกันอย่างไร
      ๕.๒ นักเรียนช่วยกันตอบคำถาม

 ขั้นสอน
       ๕.๓ นักเรียนศึกษาใบความรู้  เรื่อง  แหล่งเรียนรู้
       ๕.๔ นักเรียนแบ่งเป็นกลุ่ม ๆ ละ ๔- ๕  คน  ร่วมกันอภิปรายในเนื้อหาที่ได้ศึกษาและตั้งข้อสังเกตประเภทของแหล่งการเรียนรู้  เพื่อหาความแตกต่างและจดบันทึกลงในใบกิจกรรม
      ๕.๕ ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับประเภทและประโยชน์ของแหล่งเรียนรู้  และอธิบายเกี่ยวกับห้องสมุดซึ่งเป็นแหล่งเรียนรู้ที่ใหญ่ที่สุดของโรงเรียน  พร้อมเปิด Power Point เรื่อง แหล่งเรียนรู้ ให้จดตาม
      ๕.๖ นักเรียนร่วมแลกเปลี่ยนและแสดงความคิดเห็นเรื่องประเภทของแหล่งเรียนรู้

ขั้นสรุป
      ๕.๗ นักเรียนและครูช่วยกันสรุปประเภทและประโยชน์ของแหล่งเรียนรู้   ครูแนะนำนักเรียนเกี่ยวกับแหล่งการเรียนรู้ที่ทันสมัยคือห้องอินเทอร์เน็ตซึ่งเป็นแหล่งการเรียนรู้ที่นักเรียนสามารถสืบค้นข้อมูลได้ทั่วโลก
ครูอธิบายเกี่ยวกับมารยามการใช้สื่ออินเทอร์เน็ตว่าไม่ควรละมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น มีวิจารณญาณและคุณธรรมในการใช้ ไม่คัดลอกงานผู้อื่น นักเรียนสามารถสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตนเองได้

๖.การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการกับกิจกรรมการเรียนรู้
๖.๑  ผู้สอนใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
หลักพอเพียง
พอประมาณ
มีเหตุผล
ภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
เวลา
ครูใช้เวลาที่เหมาะสม
จัดสรรเวลาให้เป็นไปอย่างราบรื่น
จัดสรรเวลาให้ผู้เรียนที่ไม่ร่วมกิจกรรม
เนื้อหา
เนื้อหาสอดคล้องกับผลการเรียนรู้

มีความมุ่งมั่นให้นักเรียนมีทักษะการใช้แหล่งเรียนรู้
วางแผนจัดกิจกรรมอย่างมีระบบ
การจัดกิจกรรม
เหมาะสมกับระดับผู้เรียน
เรียนจากเรื่องง่ายไปยาก
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองเมื่อครูจัดกิจกรรมตามลำดับ
ถ้ากิจกรรมไม่เป็นไปตามกำหนด ครูมอบหมายงานให้ผู้เรียนไปค้นนอกเวลา
สื่อ อุปกรณ์
มีเพียงพอกับการศึกษา
เมื่อมีอุปกรณ์พร้อมผู้เรียนสนใจที่จะเรียนรู้
มีอุปกรณ์เหมาะสมกับกิจกรรมช่วยลดภาระครูสอนแทน
แหล่งเรียนรู้
จัดเตรียมสื่อ/แหล่งเรียนรู้ตามความเหมาะสมกับกิจกรรม
กระตุ้นให้ผู้เรียนศึกษาแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกโรงเรียน
ครูตรวจสอบความปลอดภัยของสื่อและแหล่งเรียนรู้
การวัดประเมินผล
ใช้วิธีหลากหลายเหมาะสมกับเวลาที่จัดกิจกรรม
เลือกวิธีที่เหมาะสมสามารถนำผู้เรียนสู่เป้าหมายได้
ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวัดผล
มีคำอธิบายให้ครูที่สอนแทนเข้าใจ
เงื่อนไขความรู้
มาตรฐาน สาระการเรียนรู้  ผลการเรียนรู้  การจัดกิจกรรม สื่อ/แหล่งเรียนรู้
เนื้อหาเรื่อง การใช้แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
เงื่อนไขคุณธรรม
มุ่งมั่นทำงาน  ความพยายาม  ใฝ่เรียนรู้
๖.๒ ผู้เรียนมีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง
พอประมาณ
มีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
ผู้เรียนทำกิจกรรมตามที่ครูมอบหมาย โดยแบ่งหน้าที่ตามความสามารถ ความถนัด
ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
ผู้เรียนวางแผน จัดสรรเวลา
มีความรับผิดชอบงานที่ครูมอบหมาย
เงื่อนไขความรู้
ผู้เรียนรู้จักแหล่งเรียนรู้
เงื่อนไขคุณธรรม
ผู้เรียนมีค่านิยมการเขียนอย่างสร้างสรรค์ มีความรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย

๖.๓  ผลลัพธ์ ( KPA ) ๔ มิติเกี่ยวข้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
                 
สาระการเรียนรู้
อยู่อย่างพอเพียง..............สมดุลพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
วัตถุ
สังคม
สิ่งแวดล้อม
วัฒนธรรม
ความรู้
มีทรัพยากร สื่อให้สืบค้นอย่างพอเพียง
ได้ศึกษาแนวทางการใช้แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
เข้าใจประเด็นการใช้แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
ตระหนักถึงคุณค่าของการศึกษาค้นคว้าอย่างสร้างสรรค์
ทักษะ
เลือกศึกษาแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
รู้หน้าที่ของตนเอง
ใช้แหล่งเรียนรู้ให้เกิดประโยชน์
มีมารยาทในการใช้แหล่งเรียนรู้
ค่านิยม
เห็นคุณค่าและประโยชน์ของการศึกษาจากแหล่งเรียนรู้
ยอมรับและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น
มีค่านิยมในการอนุรักษ์ภาษาไทย
สร้างความตระหนักในการอนุรักษ์ภาษาไทย
๗. สื่อและแหล่งเรียนรู้
สื่อ      :   Power point  ใบความรู้    เรื่องแหล่งเรียนรู้
แหล่งเรียนรู้      : ห้องสมุด ห้องสมุดกลุ่มสาระการเรียนรู้  ศูนย์วิทยบริการ  ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องอินเทอร์เน็ต  ห้องพิพิธภัณฑ์  สวนสมุนไพร  ห้องปฏิบัติการทดลอง   และแหล่งการเรียนรู้อื่น ๆ
๘. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เป้าหมาย
หลักฐาน
วิธีวัด
เครื่องมือวัด
สาระสำคัญ
การแสวงหาความรู้

การเรียนรู้ ข้อที่ ๔
แบบบันทึกการบันทึกแหล่งข้อมูล
ตรวจการบันทึกแหล่งข้อมูล
บันทึกแหล่งข้อมูล
คุณลักษณะ
มุ่งมั่นในการทำงาน








บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
๑. ผลการจัดการเรียนรู้
          ๑.๑ ด้านความรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
          ๑.๒ ด้านทักษะกระบวนการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
          ๑.๓ ด้านคุณลักษณะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๒. ปัญหาที่ต้องพัฒนา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๓. ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
๔. ความคิดเห็นของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................




    .....................................................
      (........................................................)
 ตำแหน่ง................................................................                                                                                                



ลงชื่อ...........................................................
       (นางสาวประภาพร  นามเขตร์)
         นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพฯ





แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๖
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย           รายวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้    รหัสวิชา I๓๑๒๐๑                   
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔                      ภาคเรียนที่ ๑            ปีการศึกษา  ๒๕๕๘
หน่วยที่ ๒  ปรารถนาคำตอบ      เรื่อง  สื่อสารสนเทศ             เวลา ๒ ชั่วโมง
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๑.ผลการเรียนรู้ ศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้เกี่ยวกับประเด็นที่เลือก จากแหล่งเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ

๒. จุดประสงค์การเรียนรู้
          ๑. อธิบายทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่างๆและสืบค้นได้
๒. เขียนการอ้างอิงแหล่งข้อมูลได้
๓. สาระสำคัญ  การศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้เกี่ยวกับประเด็นที่เลือกจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย การตรวจสอบความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มาของข้อมูล  และการเลือกใช้สถิติที่เหมาะสมในการวิเคราะห์จะช่วยให้ได้ข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือและมีคุณภาพ
๔.  สาระการเรียนรู้
๔.๑. ความรู้   สื่อและทรัพยากรสารสนเทศ
๔.๒. ทักษะ/กระบวนการ   กระบวนการกลุ่ม การบันทึกอ้างอิงแหล่งข้อมูล
๔.๓. คุณลักษณะ  
มุ่งมั่นในการทำงาน
๔.๔.สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน  ความสามารถในการคิด  การใช้เทคโนโลยี
         
๕. กิจกรรมการเรียนรู้
     ขั้นนำ
       ๕.๑ ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการหาข้อมูลเมื่อได้รับมอบหมายให้เขียนรายงาน และถามนักเรียนจะหาข้อมูลจากสื่ออะไรบ้าง  ครูยกตัวอย่างหนังสือพิมพ์ ซึ่งเป็นทรัพยากรสารสนเทศชนิดหนึ่งในจำนวนสิ่งพิมพ์ที่นักเรียนสามารถหาอ่านได้ตามความสนใจ  โดยครูและนักเรียนช่วยกันนับรายชื่อหนังสือพิมพ์และวารสารที่พิมพ์จำหน่ายว่ามีอะไรบ้าง   
     ขั้นสอน
      ๕.๒ ครูนำตัวอย่างวัสดุตีพิมพ์กับวัสดุไม่ตีพิมพ์  มาให้นักเรียนดู ครูถามถึงความแตกต่างของวัสดุต่าง ๆ  และความหมายของทรัพยากรสารสนเทศ
      ๕.๓ ครูอธิบายเรื่องทรัพยากรสารสนเทศโดยใช้สื่อ หนังสือ วารสาร  หนังสือพิมพ์  แผนที่  หุ่นจำลอง  เพื่อให้นักเรียนจำแนกประเภท/ลักษณะทรัพยากรสารสนเทศและประโยชน์ของสารสนเทศได้อย่างถูกต้อง พร้อมทั้งบอกคำจำกัดความของทรัพยากรสารสนเทศแต่ละประเภทได้ นักเรียนสามารถนำความรู้จากการศึกษาค้นคว้าไปพัฒนาตนเอง  ยังมีสื่ออีกประเภทหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของนักเรียนคือสื่ออินเทอร์เน็ต นักเรียนสามารถสืบค้นข้อมูลได้อย่างหลากหลาย
      ๕.๔ ครูอธิบายวิธีการเขียนอ้างอิงแหล่งข้อมูลจากสื่อสารสนเทศประเภทต่างๆ
      ๕.๕ นักเรียนศึกษาใบความรู้
      ๕.๖ นักเรียนฝึกเขียนอ้างอิงจากสื่อตีพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์

ขั้นสรุป
     ๕.๗ ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปสื่อสารสนเทศ การเขียนอ้างอิงแหล่งข้อมูล
         
๖.การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการกับกิจกรรมการเรียนรู้
        ๖.๑  ผู้สอนใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
หลักพอเพียง
พอประมาณ
มีเหตุผล
ภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
เวลา
ครูใช้เวลาที่เหมาะสม
จัดสรรเวลาให้เป็นไปอย่างราบรื่น
จัดสรรเวลาให้ผู้เรียนที่ไม่ร่วมกิจกรรม
เนื้อหา
เนื้อหาสอดคล้องกับผลการเรียนรู้

มีความมุ่งมั่นให้นักเรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์ข้อมูลการใช้สื่อสำหรับค้นคว้า
วางแผนจัดกิจกรรมอย่างมีระบบ
การจัดกิจกรรม
เหมาะสมกับระดับผู้เรียน
เรียนจากเรื่องง่ายไปยาก
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองเมื่อครูจัดกิจกรรมตามลำดับ
ถ้ากิจกรรมไม่เป็นไปตามกำหนด ครูมอบหมายงานให้ผู้เรียนไปค้นนอกเวลา
สื่อ อุปกรณ์
มีเพียงพอกับการศึกษา
เมื่อมีอุปกรณ์พร้อมผู้เรียนสนใจที่จะเรียนรู้
มีอุปกรณ์เหมาะสมกับกิจกรรมช่วยลดภาระครูสอนแทน
แหล่งเรียนรู้
จัดเตรียมสื่อ/แหล่งเรียนรู้ตามความเหมาะสมกับกิจกรรม
กระตุ้นให้ผู้เรียนศึกษาแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกโรงเรียน
ครูตรวจสอบความปลอดภัยของสื่อและแหล่งเรียนรู้
การวัดประเมินผล
ใช้วิธีหลากหลายเหมาะสมกับเวลาที่จัดกิจกรรม
เลือกวิธีที่เหมาะสมสามารถนำผู้เรียนสู่เป้าหมายได้
ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวัดผล
มีคำอธิบายให้ครูที่สอนแทนเข้าใจ
เงื่อนไขความรู้
มาตรฐาน สาระการเรียนรู้  ผลการเรียนรู้  การจัดกิจกรรม สื่อ/แหล่งเรียนรู้
เนื้อหาเรื่อง การใช้สื่อสารสนเทศ การวิเคราะห์ข้อมูล
เงื่อนไขคุณธรรม
มุ่งมั่นทำงาน  ความพยายาม  ใฝ่เรียนรู้
๖.๒ ผู้เรียนมีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง
พอประมาณ
มีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
ผู้เรียนทำกิจกรรมตามที่ครูมอบหมาย โดยแบ่งหน้าที่ตามความสามารถ ความถนัด
ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
ผู้เรียนวางแผน จัดสรรเวลา
มีความรับผิดชอบงานที่ครูมอบหมาย
เงื่อนไขความรู้
ผู้เรียนรู้จักการใช้สื่อสารสนเทศ การวิเคราะห์ข้อมูล
เงื่อนไขคุณธรรม
ผู้เรียนมีค่านิยมการเขียนอย่างสร้างสรรค์ มีความรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย

๖.๓  ผลลัพธ์ ( KPA ) ๔ มิติเกี่ยวข้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
                 
สาระการเรียนรู้
อยู่อย่างพอเพียง..............สมดุลพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
วัตถุ
สังคม
สิ่งแวดล้อม
วัฒนธรรม
ความรู้
มีทรัพยากร สื่อให้สืบค้นอย่างพอเพียง
ได้ศึกษาแนวทางการใช้สื่อต่างๆและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม
เข้าใจประเด็นปัญหาและหาวิธีการแก้ไข
ตระหนักถึงคุณค่าของการศึกษาค้นคว้าอย่างสร้างสรรค์
ทักษะ
เลือกศึกษาประเด็นที่ตนสนใจ
รู้หน้าที่ของตนเอง
เลือกใช้สื่อและเขียน ขอบเขตแต่ละส่วนให้สัมพันธ์กัน
มีมารยาทในการเขียนไม่ลอกงานผู้อื่น
ค่านิยม
เห็นคุณค่าและประโยชน์ของการศึกษา
ยอมรับและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น
มีค่านิยมในการอนุรักษ์ภาษาไทย
สร้างความตระหนักในการอนุรักษ์ภาษาไทย

๗. สื่อและแหล่งเรียนรู้
สื่อ      :         Power point ใบความรู้ เรื่อง สื่อสิ่งพิมพ์และไม่ตีพิมพ์ในห้องสมุด
แหล่งเรียนรู้      : ห้องสมุดทั้งในและนอกโรงเรียน

๘. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เป้าหมาย
หลักฐาน
วิธีวัด
เครื่องมือวัด
สาระสำคัญ
แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้

การเรียนรู้ ข้อที่ ๔
๑.แบบบันทึกการเขียนแหล่งสืบค้นความรู้
๒.การเขียนอ้างอิงแหล่งสืบค้นข้อมูล
ตรวจการเขียนแหล่งสืบค้นข้อมูล,การเขียนอ้างอิงข้อมูล
บันทึกการเขียนแหล่งสืบค้นข้อมูล,การเขียนอ้างอิงข้อมูล
คุณลักษณะ
มุ่งมั่นในการทำงาน



ใบความรู้ เรื่องสื่อสิ่งพิมพ์และไม่ตีพิมพ์ในห้องสมุด
สารสนเทศสิ่งพิมพ์ ได้แก่ สารสนเทศที่ผลิตขึ้นและรวบรวมเป็นเล่มจากการตีพิมพ์จากเครื่องพิมพ์ เป็นสารสนเทศที่เริ่มมีบทบาทขึ้นเมื่ออุตสาหกรรมการพิมพ์สิ่งพิมพ์เริ่มเกิดขึ้น มีรูปลักษณะต่างๆกันตั้งแต่เป็นแผ่นๆไปจนถึงเย็บเป็นเล่มแบบต่างๆสื่อสิ่งพิมพ์แบ่งได้5 ประเภท คือ                                                      หนังสือ(books) เป็นสื่อที่เกิดจากการพิมพ์เรื่องบันทึก ความรู้ ความคิด ความเชื่อถือ ประสบการณ์ และการกระทำของมนุษย์ในรูปเล่มที่ถาวร และมีส่วนประกอบของรูปเล่มที่สมบูรณ์ คือใบหุ้มปก ปกหนังสือ ใบรองปก หน้าชื่อเรื่อง หน้าปกใน คำนำ สารบาญ เนื้อเรื่อง บรรณานุกรม ภาคผนวก อภิธานศัพท์ และดรรชนีหนังสืออาจแบ่งออกเป็นประเภทต่างๆ ได้หลายวิธี สุดแท้แต่ว่าจะยึดหลักเกณฑ์ใดแต่ที่นิยมใช้กันแพร่หลายคือ แบ่งตามเนื้อหา และแบ่งตามลักษณะการแต่ง โดยถ้าแบ่งตามเนื้อหาจะแบ่งขอบเขตของหนังสือเป็น 2 ประเภท คือหนังสือตำราและสารคดี และหนังสือบันเทิงคดี ถ้าแบ่งตามลักษณะการแต่งจะแบ่งได้เป็น การแต่งแบบร้อยแก้วและการแต่งแบบร้อยกรอง หนังสือตำราและสารคดี มุ่งให้สาระความรู้ในสาขาวิชาต่างๆเป็นหลัก เป็นหนังสือที่มีจำนวนมากเมื่อเปรียบเทียบกับหนังสืออื่นๆที่ให้บริการอยู่ในห้องสมุดประเภทต่างๆและศูนย์สารสนเทศ                                                      
วารสาร(periodicals) เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่มีกำหนดระยะเวลาออกไว้แน่นอน เช่นรายสัปดาห์ รายปักษ์ รายเดือน ราย2 เดือน เป็นต้น ออกโดยสม่ำเสมอ และมีชื่อเรียกแน่นอน โดยจะพิมพ์บทความและเรื่องราวต่างๆที่ทันสมัยไว้ในเล่มเดียวกัน เขียนโดยผู้เขียนหลายคน เนื้อหาสาระภายในมักเป็นเรื่องหลายเรื่องหลายแบบรวมๆกัน จัดเป็นคอลัมน์หรือส่วนเฉพาะ แบ่งเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับข่าวประเภทสรุป หรือวิเคราะห์วิจารณ์ในรอบหนึ่ง เป็นบทความที่ให้ความรู้หรือแสดงความคิดเห็น เขียนเป็นเรื่องสั้นหรือนวนิยายเป็นตอนๆเขียนเป็นสารคดีทั่วไป แฟชั่นต่างๆประกาศโฆษณา เป็นต้น การจัดทำวารสารหรือนิตยสารจะมีคณะผู้จัดทำหลายคนร่วมทำ โดยแต่ละคนรับผิดชอบหน้าที่กันไปคนละอย่างมีตั้งแต่เจ้าของ ผู้อำนวยการ บรรณาธิการ ฝ่ายศิลปะ เป็นต้น
หนังสือพิมพ์(newspapers) เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่มีความหมายถึงสิ่งพิมพ์ ข่าว และความเห็นที่เสนอแก่ประชาชน ตามปกติออกเป็นรายวัน หนังสือพิมพ์นับเป็นสื่อสารสนเทศที่มีความสม่ำเสมอ เนื้อหาสาระที่นำเสนอมีความรวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปในสังคม หนังสือพิมพ์มีจุดมุ่งหมายเพื่อเสนอข่าวเรื่องราวที่น่าสนใจทั่วไปอย่างกว้างขวาง รูปเล่มมีลักษณะเป็นกระดาษขนาดใหญ่จำนวนหลายแผ่น พับได้ไม่เย็บเป็นเล่ม ส่วนใหญ่จะออกเป็นรายวัน หนังสือพิมพ์เป็นสิ่งพิมพ์ที่พิมพ์ขึ้นเพื่อคนทุกระดับความรู้ ไม่จำกัดผู้อ่าน สามารถอ่านจบได้ในเวลาอันสั้นและอ่านได้ทุกเวลาและทุกสถานที่ จึงเป็นสิ่งพิมพ์ที่ได้รับความนิยมแพร่หลายจากผู้อ่านมากกว่าสิ่งพิมพ์ประเภทอื่นๆ                                 
จุลสาร(pamphletts) คือสิ่งพิมพ์ขนาดเล็ก มีความหนาอย่างน้อย 5 หน้าแต่ไม่เกิน 48 หน้า รูปเล่มไม่แข็งแรง ปกอ่อน อาจเป็นกระดาษแผ่นเดียวพับไปมา หรือเป็นเล่มบางๆ เนื้อหากล่าวถึงเรื่องใดเรื่องหนึ่งเพียงเรื่องเดียวและจบบริบูรณ์ภายในเล่ม ความยาวไม่มากนัก เขียนอย่างง่ายๆ ส่วนมากแล้วเนื้อหาจะเป็นเรื่องที่น่าสนใจในช่วงระยะเวลาหนึ่ง โดยจะให้ข้อมูลที่ทันสมัย รายละเอียดในเรื่องอาจยังไม่มีการจัดพิมพ์เป็นเล่มหนังสือ จุลสารมักจัดทำโดยหน่วยงานราชการ องค์การ สถาบันต่างๆ เพื่อเผยแพร่เรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของหน่วยงานนั้นๆ
กฤตภาค(clippings) เป็นสิ่งพิมพ์ที่จัดทำขึ้นใช้เองในห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศต่างๆจัดทำขึ้นจากการตัดข้อความข่าว หรือภาพจากหนังสือพิมพ์ วารสาร หรือสิ่งพิมพ์อื่นๆ มาติดแปะไว้กับกระดาษเพื่อการใช้ประโยชน์ต่อไปข้อความที่ตัดจากสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆอาจจะเป็นข่าว บทความ หรือสารคดี เป็นสาระความรู้ หรือเรื่องราวใหม่ๆ

สารสนเทศไม่ตีพิมพ์(non-printed materials)
สารสนเทศประเภทสื่อไม่ตีพิมพ์ หรือสื่อประเภทโสตทัศนวัสดุ(audio visual materials)เป็นสื่อสารสนเทศที่สำคัญและมีบทบาทอย่างมากต่อการเรียนการสอนและวงการธุรกิจ การสื่อสารประเภทนี้จัดเป็นสาขาวิชาหนึ่งโดยตรง คือวิชาโสตทัศนศึกษา (audio visual education) ซึ่งเป็นสาขาวิชาที่ว่าด้วยการศึกษาที่กล่าวถึงเทคนิคการสอน โดยใช้โสตทัศนวัสดุอุปกรณ์ประกอบบทเรียนของครู สื่อวัสดุสารสนเทศไม่ตีพิมพ์เป็นวัสดุประเภทที่ใช้ดูหรือฟัง หรือทั้งดูและฟังพร้อมกันเป็นหลัก เป็นสารสนเทศที่ช่วยให้เกิดความเข้าใจได้ง่าย มักใช้เป็นอุปกรณ์การสอนในชั้นเรียนและใช้ประโยชน์ในวงการธุรกิจ เนื่องจากมีคุณค่าทางการศึกษาและการบริการงานทางด้านธุรกิจ

สื่อสารสนเทศไม่ตีพิมพ์ที่สำคัญๆมีดังนี้

ภาพ(pictures) ได้แก่ ทัศนสัญลักษณ์ที่ได้มาจากการถ่ายภาพ วาด หรือพิมพ์ เป็นสื่อสารสนเทศที่หาได้ง่าย ราคาถูก และมีประโยชน์ต่อการสื่อสารในสังคม ภาพมีความหมายในตัวของมันเอง
วัสดุกราฟิก(graphic materials) เป็นสื่อประเภททัศนวัสดุที่นำมาใช้ในการสื่อความหมายเพื่อแสดงสัญลักษณ์ หรือความหมายของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับข้อเท็จจริงแนวความคิด และเสริมความเข้าใจจากการผสมผสานสื่อของภาพวาด คำพูด สัญลักษณ์ และรูปภาพ เป็นต้น
วัสดุแผนที่(cartographic materials) เป็นสื่อสารสนเทศที่รวม หมายถึงวัสดุที่จัดทำขึ้นเพื่อเป็นสัญลักษณ์แทนบางส่วน หรือทั้งหมดของโลก มักแสดงข้อมูลเกี่ยวกับทำเลที่ตั้งของสถานที่ ทรัพยากร ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ เส้นทางคมนาคม
สไลด์(slides) หรือแผ่นภาพเลื่อนเป็นสารสนเทศที่มีลักษณะเป็นภาพนิ่ง ซึ่งถ่ายลงบนฟิล์มโปร่งแสงผนึกกับกรอบกระดาษหรือพลาสติก มีทั้งสไลด์ขาวดำและสี เมื่อนำไปเข้าเครื่องฉาย แสงสว่างที่มีความสว่างสูงจะส่องผ่านฟิล์มไปปรากฏภาพบนจอสไลด์มีหลายขนาดตามแต่ชนิดของฟิล์มที่ใช้ถ่าย
ฟิล์มสตริป(filmstrips) หรือฟิล์มแถบยาว ได้แก่ สารสนเทศประเภทภาพนิ่งโปร่งใส จัดทำขึ้นจากการถ่ายบนฟิล์มโปร่งใสขนาด 35 มม. มีความยาวประมาณ 20-50ภาพ เรียงตามลำดับต่อกันอาจเป็นสีหรือขาวดำมี 2 ขนาด คือ ขนาดหนึ่งกรอบภาพ ขนาด 3/4 คูณ1นิ้ว ภาพจะเรียงซ้อนกันตามด้านขวางของฟิล์ม และขนาดสองกรอบภาพขนาด1คูณ 11/2นิ้ว ภาพจะเรียงตามความยาวของฟิล์ม มักจะม้วนเก็บในกล่องโลหะหรือพลาสติก
ภาพยนตร์(motion pictures หรือ cine films) เป็นสื่อสารสนเทศที่จัดทำเป็นภาพฉายด้วยเครื่องทำให้เห็นเป็นเคลื่อนไหวได้








บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
๑. ผลการจัดการเรียนรู้
          ๑.๑ ด้านความรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
          ๑.๒ ด้านทักษะกระบวนการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
          ๑.๓ ด้านคุณลักษณะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๒. ปัญหาที่ต้องพัฒนา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๓. ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
๔. ความคิดเห็นของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................




    .....................................................
      (........................................................)
 ตำแหน่ง................................................................                                                                                                 



ลงชื่อ...........................................................
       (นางสาวประภาพร  นามเขตร์)
         นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพฯ





แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๗
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย           รายวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้    รหัสวิชา I๓๑๒๐๑                   
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔                      ภาคเรียนที่ ๑            ปีการศึกษา  ๒๕๕๗
หน่วยที่ ๑  เปิดประเด็นปัญหา          เรื่อง  การตรวจสอบข้อมูล                 เวลา ๒ ชั่วโมง
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๑. ผลการเรียนรู้  ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มาของข้อมูล

๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ 
 ๑. แสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้
           ๒. อธิบายการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้

๓. สาระสำคัญ  การศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้เกี่ยวกับประเด็นที่เลือกจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย การตรวจสอบความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มาของข้อมูล  และการเลือกใช้สถิติที่เหมาะสมในการวิเคราะห์จะช่วยให้ได้ข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือและมีคุณภาพ

๔.  สาระการเรียนรู้
๔.๑. ความรู้   การคิดเชื่อมโยง  การเขียนแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
๔.๒. ทักษะ/กระบวนการ   กระบวนการกลุ่ม
๔.๓. คุณลักษณะ   มุ่งมั่นในการทำงาน                                                                          
๔.๔.  สมรรถนะสำคัญ   ความสามารถในการคิด
๕. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ
                .๑ ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับส่วนประกอบของร่างกายทีมีองค์ประกอบครบถ้วน เปรียบเทียบกับส่วนต่างๆของรายงานการศึกษาค้นคว้า ถ้าขาดส่วนใดส่วนหนึ่งก็ถือว่างานนั้นไม่สมบูรณ์

ขั้นสอน
                .๒ ครูสอบถามนักเรียนว่าส่วนประกอบในรายงานทั่วไปมีอะไรบ้าง โดยฝึกให้นักเรียนคิดเชื่อมโยงตั้งแต่ชื่อเรื่องหรือประเด็นปัญหาที่นักเรียนจะศึกษาค้นคว้า ถ้าเป็นรายงานที่สมบูรณ์จะประกอบด้วยอะไรบ้าง
          ๕.๓ นักเรียนศึกษาตัวอย่างรายงานเชิงวิชาการและฝึกสังเกตความเชื่อมโยงของส่วนต่างๆ จนถึงส่วนการเขียนอ้างอิง ให้นักเรียนศึกษารายการเอกสารที่นำมาอ้างอิงสอดคล้องกับเนื้อเรืองของประเด็นปัญหาหรือไม่ ข้อมูลน่าเชื่อถือหรือไม่
          ๕.๔ ครูตั้งคำถามว่าถ้าเป็นสื่อสิ่งพิมพ์อื่น นักเรียนจะตรวจสอบความน่าเชื่อถือข้อมูลอย่างไร
          ๕.๕  นักเรียนแบ่งกลุ่มแลกเปลี่ยนและแสดงความคิดเห็น และคิดเชื่อมโยงจากตัวอย่างเอกสารรายงานเชิงวิชาการ และบันทึกลงใบกิจกรรม

ขั้นสรุป
          ๕.๔ ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูล

๖.การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการกับกิจกรรมการเรียนรู้

   ๖.๑  ผู้สอนใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
หลักพอเพียง
พอประมาณ
มีเหตุผล
ภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
เวลา
ครูใช้เวลาที่เหมาะสม
จัดสรรเวลาให้เป็นไปอย่างราบรื่น
จัดสรรเวลาให้ผู้เรียนที่ไม่ร่วมกิจกรรม
เนื้อหา
เนื้อหาสอดคล้องกับผลการเรียนรู้

มีความมุ่งมั่นให้นักเรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์การตั้งประเด็นปัญหา
วางแผนจัดกิจกรรมอย่างมีระบบ
การจัดกิจกรรม
เหมาะสมกับระดับผู้เรียน
เรียนจากเรื่องง่ายไปยาก
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองเมื่อครูจัดกิจกรรมตามลำดับ
ถ้ากิจกรรมไม่เป็นไปตามกำหนด ครูมอบหมายงานให้ผู้เรียนไปค้นนอกเวลา
สื่อ อุปกรณ์
มีเพียงพอกับการศึกษา
เมื่อมีอุปกรณ์พร้อมผู้เรียนสนใจที่จะเรียนรู้
มีอุปกรณ์เหมาะสมกับกิจกรรมช่วยลดภาระครูสอนแทน
แหล่งเรียนรู้
จัดเตรียมสื่อ/แหล่งเรียนรู้ตามความเหมาะสมกับกิจกรรม
กระตุ้นให้ผู้เรียนศึกษาแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกโรงเรียน
ครูตรวจสอบความปลอดภัยของสื่อและแหล่งเรียนรู้
การวัดประเมินผล
ใช้วิธีหลากหลายเหมาะสมกับเวลาที่จัดกิจกรรม
เลือกวิธีที่เหมาะสมสามารถนำผู้เรียนสู่เป้าหมายได้
ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวัดผล
มีคำอธิบายให้ครูที่สอนแทนเข้าใจ
เงื่อนไขความรู้
มาตรฐาน สาระการเรียนรู้  ผลการเรียนรู้  การจัดกิจกรรม สื่อ/แหล่งเรียนรู้
เนื้อหาเรื่อง การแสวงหาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ การใช้สื่อสารสนเทศ การตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูล
เงื่อนไขคุณธรรม
มุ่งมั่นทำงาน  ความพยายาม  ใฝ่เรียนรู้



๖.๒ ผู้เรียนมีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง
พอประมาณ
มีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
ผู้เรียนทำกิจกรรมตามที่ครูมอบหมาย โดยแบ่งหน้าที่ตามความสามารถ ความถนัด
ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
ผู้เรียนวางแผน จัดสรรเวลา
มีความรับผิดชอบงานที่ครูมอบหมาย
เงื่อนไขความรู้
ผู้เรียนรู้จักแหล่งเรียนรู้ สื่อสารสนเทศ
เงื่อนไขคุณธรรม
ผู้เรียนมีค่านิยมการเขียนอย่างสร้างสรรค์ มีความรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย


๖.๓  ผลลัพธ์ ( KPA ) ๔ มิติเกี่ยวข้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
                 
สาระการเรียนรู้
อยู่อย่างพอเพียง..............สมดุลพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
วัตถุ
สังคม
สิ่งแวดล้อม
วัฒนธรรม
ความรู้
มีทรัพยากร สื่อให้สืบค้นอย่างพอเพียง
ได้ศึกษาแนวทางการตั้งประเด็นปัญหาจากสื่อต่างๆและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม
เข้าใจประเด็นปัญหาและหาวิธีการแก้ไข
ตระหนักถึงคุณค่าของการศึกษาค้นคว้าอย่างสร้างสรรค์
ทักษะ
เลือกศึกษาประเด็นที่ตนสนใจ
รู้หน้าที่ของตนเอง
เขียนประเด็นปัญหา ขอบเขตแต่ละส่วนให้สัมพันธ์กัน
มีมารยาทในการเขียนไม่ลอกงานผู้อื่น
ค่านิยม
เห็นคุณค่าและประโยชน์ของการศึกษา
ยอมรับและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น
มีค่านิยมในการอนุรักษ์ภาษาไทย
สร้างความตระหนักในการอนุรักษ์ภาษาไทย

๗. สื่อและแหล่งเรียนรู้
สื่อ      : Power Point เรื่อง รายงานเชิงวิชาการ  รายงานเชิงวิชาการ
แหล่งเรียนรู้      : ห้องสมุดทั้งในและนอกโรงเรียน

๘. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เป้าหมาย
หลักฐาน
วิธีวัด
เครื่องมือวัด
สาระสำคัญ
แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้

การเรียนรู้ ข้อที่ ๕
แบบบันทึกการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
ตรวจการบันทึกแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
บันทึกการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
คุณลักษณะ
มุ่งมั่นในการทำงาน
บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
๑. ผลการจัดการเรียนรู้
          ๑.๑ ด้านความรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
          ๑.๒ ด้านทักษะกระบวนการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
          ๑.๓ ด้านคุณลักษณะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๒. ปัญหาที่ต้องพัฒนา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๓. ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
๔. ความคิดเห็นของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................




    .....................................................
      (........................................................)
 ตำแหน่ง................................................................                                                                                                



ลงชื่อ...........................................................
       (นางสาวประภาพร  นามเขตร์)
         นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพฯ





แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๘
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย           รายวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้    รหัสวิชา I๓๑๒๐๑                   
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔                      ภาคเรียนที่ ๑            ปีการศึกษา  ๒๕๕๗
หน่วยที่ ๒  ปรารถนาคำตอบ                เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูล               เวลา ๒ ชั่วโมง
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
๑. ผลการเรียนรู้  วิเคราะห์ข้อค้นพบด้วยสถิติที่เหมาะสม

๒. จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. อธิบายการวิเคราะห์ข้อมูลได้
๒.  ตรวจสอบความน่าเชื่อถือข้อมูลได้
๓. สาระสำคัญ  การศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้เกี่ยวกับประเด็นที่เลือกจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย การตรวจสอบความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มาของข้อมูล  และการเลือกใช้สถิติที่เหมาะสมในการวิเคราะห์จะช่วยให้ได้ข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือและมีคุณภาพ
๔.  สาระการเรียนรู้
๔.๑. ความรู้   การคิดวิเคราะห์
๔.๒. ทักษะ/กระบวนการ   กระบวนการกลุ่ม                                                                     ๔.๓. คุณลักษณะ
มุ่งมั่นในการทำงาน                                                                                      ๔.๔. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 
ความสามารถในการคิด

๕. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ
                ๕.๑ ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เป็นตัวเลข สอบถามนักเรียนว่าเคยใช้ค่าสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลหรือไม่

 ขั้นสอน
                ๕.๒ ครูอธิบายถึงการนำตัวเลขมาวิเคราะห์ใช้ค่าทางสถิติเพื่อให้ข้อมูลเป็นที่น่าเชื่อถือเพื่อตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบสอบถามและจัดระบบข้อมูล
๕.๓ ครูถามนักเรียนมีวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลที่เป็นตัวเลข  การแจกแจงข้อมูล ใช้วิธีการทางสถิติในการพิสูจน์สมมติฐานอย่างไร
๕.๔ นักเรียนศึกษาตัวอย่างการนำตัวเลขมาแทนค่าและคิดวิเคราะห์ข้อมูล 

ขั้นสรุป
                ๕.๕ ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปการวิเคราะห์ข้อมูล นักเรียนฝึกวิเคราะห์ข้อมูลและบันทึกลงในสมุดนักเรียน



๖.การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการกับกิจกรรมการเรียนรู้

๖.๑  ผู้สอนใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
หลักพอเพียง
พอประมาณ
มีเหตุผล
ภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
เวลา
ครูใช้เวลาที่เหมาะสม
จัดสรรเวลาให้เป็นไปอย่างราบรื่น
จัดสรรเวลาให้ผู้เรียนที่ไม่ร่วมกิจกรรม
เนื้อหา
เนื้อหาสอดคล้องกับผลการเรียนรู้

มีความมุ่งมั่นให้นักเรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์การเขียนโครงร่าง
วางแผนจัดกิจกรรมอย่างมีระบบ
การจัดกิจกรรม
เหมาะสมกับระดับผู้เรียน
เรียนจากเรื่องง่ายไปยาก
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองเมื่อครูจัดกิจกรรมตามลำดับ
ถ้ากิจกรรมไม่เป็นไปตามกำหนด ครูมอบหมายงานให้ผู้เรียนไปค้นนอกเวลา
สื่อ อุปกรณ์
มีเพียงพอกับการศึกษา
เมื่อมีอุปกรณ์พร้อมผู้เรียนสนใจที่จะเรียนรู้
มีอุปกรณ์เหมาะสมกับกิจกรรมช่วยลดภาระครูสอนแทน
แหล่งเรียนรู้
จัดเตรียมสื่อ/แหล่งเรียนรู้ตามความเหมาะสมกับกิจกรรม
กระตุ้นให้ผู้เรียนศึกษาแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกโรงเรียน
ครูตรวจสอบความปลอดภัยของสื่อและแหล่งเรียนรู้
การวัดประเมินผล
ใช้วิธีหลากหลายเหมาะสมกับเวลาที่จัดกิจกรรม
เลือกวิธีที่เหมาะสมสามารถนำผู้เรียนสู่เป้าหมายได้
ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวัดผล
มีคำอธิบายให้ครูที่สอนแทนเข้าใจ
เงื่อนไขความรู้
มาตรฐาน สาระการเรียนรู้  ผลการเรียนรู้  การจัดกิจกรรม สื่อ/แหล่งเรียนรู้
เนื้อหาเรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ
เงื่อนไขคุณธรรม
มุ่งมั่นทำงาน  ความพยายาม  ใฝ่เรียนรู้

๖.๒ ผู้เรียนมีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง
พอประมาณ
มีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
ผู้เรียนทำกิจกรรมตามที่ครูมอบหมาย โดยแบ่งหน้าที่ตามความสามารถ ความถนัด
ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
ผู้เรียนวางแผน จัดสรรเวลา
มีความรับผิดชอบงานที่ครูมอบหมาย
เงื่อนไขความรู้
ผู้เรียนรู้จักการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ
เงื่อนไขคุณธรรม
ผู้เรียนมีค่านิยมการเขียนอย่างสร้างสรรค์ มีความรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย

๖.๓  ผลลัพธ์ ( KPA ) ๔ มิติเกี่ยวข้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
                 
สาระการเรียนรู้
อยู่อย่างพอเพียง..............สมดุลพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
วัตถุ
สังคม
สิ่งแวดล้อม
วัฒนธรรม
ความรู้
มีทรัพยากร สื่อให้สืบค้นอย่างพอเพียง
ได้ศึกษาแนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม
เข้าใจประเด็นปัญหาและหาวิธีการแก้ไข
ตระหนักถึงคุณค่าของการศึกษาค้นคว้าอย่างสร้างสรรค์
ทักษะ
เลือกศึกษาหาค่าเฉลี่ยตัวเลข
รู้หน้าที่ของตนเอง
เขียนข้อมูล ขอบเขตแต่ละส่วนให้สัมพันธ์กัน
มีมารยาทในการเขียนไม่ลอกงานผู้อื่น
ค่านิยม
เห็นคุณค่าและประโยชน์ของการศึกษา
ยอมรับและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น
มีค่านิยมในการอนุรักษ์ภาษาไทย
สร้างความตระหนักในการอนุรักษ์ภาษาไทย

๗. สื่อและแหล่งเรียนรู้
สื่อ      :         Power Point เรื่อง หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ข้อมูล
แหล่งเรียนรู้      : ห้องสมุดทั้งในและนอกโรงเรียน

๘. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เป้าหมาย
หลักฐาน
วิธีวัด
เครื่องมือวัด
สาระสำคัญ
การแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้

การเรียนรู้ ข้อที่ ๖
แบบบันทึกการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ
ตรวจการเขียนตัวเลขทางสถิติ
บันทึกการเขียนตัวเลขทางสถิติ
คุณลักษณะ
มุ่งมั่นในการทำงาน





บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
๑. ผลการจัดการเรียนรู้
          ๑.๑ ด้านความรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
          ๑.๒ ด้านทักษะกระบวนการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
          ๑.๓ ด้านคุณลักษณะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๒. ปัญหาที่ต้องพัฒนา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๓. ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
๔. ความคิดเห็นของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................




    .....................................................
      (........................................................)
 ตำแหน่ง................................................................                                                                                                



ลงชื่อ...........................................................
       (นางสาวประภาพร  นามเขตร์)
         นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพฯ





แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๙ – ๑๐
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย           รายวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้    รหัสวิชา I๓๑๒๐๑                   
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔                      ภาคเรียนที่ ๑            ปีการศึกษา  ๒๕๕๗
หน่วยที่  ๒ ปรารถนาคำตอบ           เรื่องการบันทึกข้อมูล              เวลา ๔ ชั่วโมง
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๑.ผลการเรียนรู้  ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มาของข้อมูล

๒. จุดประสงค์การเรียนรู้
                   ๑. อธิบายการสืบค้นข้อมูลที่สอดคล้องกับหัวข้อเรื่องได้
                   . เรียบเรียงข้อมูลและบันทึกข้อมูลได้
                  
๓. สาระสำคัญ  การศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้เกี่ยวกับประเด็นที่เลือกจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย การตรวจสอบความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มาของข้อมูล  และการเลือกใช้สถิติที่เหมาะสมในการวิเคราะห์จะช่วยให้ได้ข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือและมีคุณภาพ
๔.  สาระการเรียนรู้

๔.๑. ความรู้   การค้นคว้าข้อมูล
๔.๒. ทักษะ/กระบวนการ   การบันทึกข้อมูล
๔.๓. คุณลักษณะ  มุ่งมั่นในการทำงาน
๔.๔.สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน  ความสามารถในการคิด
๕. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ
                .๑ ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล  และสอบถามนักเรียนเกี่ยวกับการเก็บข้อมูล

 ขั้นสอน
                .๒ นักเรียนศึกษาตัวอย่างรายงานเชิงวิชาการ เรื่องการบันทึกข้อมูล และการเขียนบรรณานุกรม
๕.๓ ครูแนะนำให้นักเรียนศึกษาข้อมูลจากสื่อสารสนเทศ อ่านสรุปจับใจความ หรือเก็บใจความและเขียนบรรณานุกรม แล้วบันทึกลงในกระดาษขนาดกว้าง๑๐.๒เซนติเมตร  ยาว ๒๐.๘ เซนติเมตร
การบันทึกดังกล่าวจะช่วยลดภาระในการเรียงบรรณานุกรม

ขั้นสรุป
                .๔ นักเรียนฝึกเขียนโครงเรื่องให้สอดคล้องกับประเด็นปัญหาบันทึกลงสมุดนักเรียน
          ๕.๕ ครูมอบหมายให้นักเรียนบันทึกข้อมูลตามโครงเรื่องของนักเรียนแต่ละกลุ่มและนำส่งครูทุกชั่วโมงในเวลาเรียน เพื่อตรวจสอบความก้าวหน้าของงานการศึกษาค้นคว้า ในแต่ละชั่วโมงครูและนักเรียนจะช่วยกันตรวจสอบการวิเคราะห์ข้อมูล และวิพากย์การวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อนำผลการวิพากย์ไปปรับปรุงข้อมูล
         


๖.การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการกับกิจกรรมการเรียนรู้
        .๑  ผู้สอนใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
หลักพอเพียง
พอประมาณ
มีเหตุผล
ภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
เวลา
ครูใช้เวลาที่เหมาะสม
จัดสรรเวลาให้เป็นไปอย่างราบรื่น
จัดสรรเวลาให้ผู้เรียนที่ไม่ร่วมกิจกรรม
เนื้อหา
เนื้อหาสอดคล้องกับผลการเรียนรู้

มีความมุ่งมั่นให้นักเรียนมีทักษะการบันทึกข้อมูลและเขียนบรรณานุกรม
วางแผนจัดกิจกรรมอย่างมีระบบ
การจัดกิจกรรม
เหมาะสมกับระดับผู้เรียน
เรียนจากเรื่องง่ายไปยาก
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองเมื่อครูจัดกิจกรรมตามลำดับ
ถ้ากิจกรรมไม่เป็นไปตามกำหนด ครูมอบหมายงานให้ผู้เรียนไปค้นนอกเวลา
สื่อ อุปกรณ์
มีเพียงพอกับการศึกษา
เมื่อมีอุปกรณ์พร้อมผู้เรียนสนใจที่จะเรียนรู้
มีอุปกรณ์เหมาะสมกับกิจกรรมช่วยลดภาระครูสอนแทน
แหล่งเรียนรู้
จัดเตรียมสื่อ/แหล่งเรียนรู้ตามความเหมาะสมกับกิจกรรม
กระตุ้นให้ผู้เรียนศึกษาแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกโรงเรียน
ครูตรวจสอบความปลอดภัยของสื่อและแหล่งเรียนรู้
การวัดประเมินผล
ใช้วิธีหลากหลายเหมาะสมกับเวลาที่จัดกิจกรรม
เลือกวิธีที่เหมาะสมสามารถนำผู้เรียนสู่เป้าหมายได้
ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวัดผล
มีคำอธิบายให้ครูที่สอนแทนเข้าใจ
เงื่อนไขความรู้
มาตรฐาน สาระการเรียนรู้  ผลการเรียนรู้  การจัดกิจกรรม สื่อ/แหล่งเรียนรู้
เนื้อหาเรื่อง การเขียนบันทึกข้อมูลและการเขียนบรรณานุกรม
เงื่อนไขคุณธรรม
มุ่งมั่นทำงาน  ความพยายาม  ใฝ่เรียนรู้
 
 ๖.๒ ผู้เรียนมีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง
พอประมาณ
มีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
ผู้เรียนทำกิจกรรมตามที่ครูมอบหมาย โดยแบ่งหน้าที่ตามความสามารถ ความถนัด
ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
ผู้เรียนวางแผน จัดสรรเวลา
มีความรับผิดชอบงานที่ครูมอบหมาย
เงื่อนไขความรู้
ผู้เรียนรู้จักการบันทึกข้อมูลและการเขียนบรรณานุกรม
เงื่อนไขคุณธรรม
ผู้เรียนมีค่านิยมการเขียนอย่างสร้างสรรค์ มีความรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย

     ๖.๓  ผลลัพธ์ ( KPA ) ๔ มิติเกี่ยวข้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
                 
สาระการเรียนรู้
อยู่อย่างพอเพียง..............สมดุลพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
วัตถุ
สังคม
สิ่งแวดล้อม
วัฒนธรรม
ความรู้
มีทรัพยากร สื่อให้สืบค้นอย่างพอเพียง
ได้ศึกษาแนวทางการบันทึกข้อมูลจากสื่อต่างๆและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม
เข้าใจประเด็นปัญหาและหาวิธีการแก้ไข
ตระหนักถึงคุณค่าของการศึกษาค้นคว้าอย่างสร้างสรรค์
ทักษะ
เลือกศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่ตนสนใจ
รู้หน้าที่ของตนเอง
เขียนบันทึกข้อมูล ขอบเขตแต่ละส่วนให้สัมพันธ์กัน
มีมารยาทในการเขียนไม่ลอกงานผู้อื่น
ค่านิยม
เห็นคุณค่าและประโยชน์ของการศึกษา
ยอมรับและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น
มีค่านิยมในการอนุรักษ์ภาษาไทย
สร้างความตระหนักในการอนุรักษ์ภาษาไทย

๗. สื่อและแหล่งเรียนรู้
สื่อ      :         ตัวอย่างรายงานเชิงวิชาการ    ใบบันทึกกิจกรรม
แหล่งเรียนรู้      : ห้องสมุดทั้งในและนอกโรงเรียน
๘. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เป้าหมาย
หลักฐาน
วิธีวัด
เครื่องมือวัด
สาระสำคัญ
การบันทึกข้อมูล

การเรียนรู้ ข้อที่ ๖
แบบบันทึกการบันทึกข้อมูล
ตรวจการบันทึกข้อมูล
แบบบันทึกข้อมูล
คุณลักษณะ
มุ่งมั่นในการทำงาน









บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
๑. ผลการจัดการเรียนรู้
          ๑.๑ ด้านความรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
          ๑.๒ ด้านทักษะกระบวนการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
          ๑.๓ ด้านคุณลักษณะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๒. ปัญหาที่ต้องพัฒนา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๓. ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
๔. ความคิดเห็นของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................




    .....................................................
      (........................................................)
 ตำแหน่ง................................................................                                                                                                 



ลงชื่อ...........................................................
       (นางสาวประภาพร  นามเขตร์)
         นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพฯ





แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๑ – ๑๔
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย           รายวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้    รหัสวิชา I๓๑๒๐๑                   
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔                      ภาคเรียนที่ ๑            ปีการศึกษา  ๒๕๕๗
หน่วยที่  ๓ รอบคอบมีปัญญา  เรื่อง  การสรุปองค์ความรู้                            เวลา ๒ ชั่วโมง
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๑.ผลการเรียนรู้  สังเคราะห์ความรู้ สรุปองค์ความรู้ด้วยกระบวนการกลุ่ม

๒. จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. สรุปองค์ความรู้จากทฤษฎีของกลุ่มสาระ  ๘ กลุ่มสาระได้

๓. สาระสำคัญ  การสังเคราะห์และสรุปองค์ความรู้จากประเด็นปัญหาที่สนใจ จะช่วยให้ได้ข้อสรุปของประเด็นปัญหาที่สนใจ และช่วยในการเสนอแนวคิด   การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบจากองค์ความรู้ที่ค้นพบและแผนการทำงานของตนเอง
๔.  สาระการเรียนรู้
๔.๑. ความรู้   การสรุปองค์ความรู้  การเปรียบเทียบเชื่อมโยงองค์ความรู้
๔.๒. ทักษะ/กระบวนการ   กระบวนการกลุ่ม
๔.๓. คุณลักษณะ   มุ่งมั่นในการทำงาน
๔.๔. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการคิด
๕. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ
                .๑ ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับเก็บรวบรวมข้อมูลว่านักเรียนมีความรู้จากการศึกษาค้นคว้าแล้วต้องนำข้อมูลมาวิเคราะห์ สังเคราะห์ให้เกิดองค์ความรู้ใหม่

ขั้นสอน
                .๒ ครูสอบถามนักเรียน ๒ -๓ คน ว่านักเรียนมีวิธีแก้ปัญหาอย่างไรมี    วิธีสรุปเป็นองค์ความรู้อย่างไร
          ๕.๓ นักเรียนช่วยกันตรวจสอบและวิพากย์งานในกลุ่ม  วิเคราะห์องค์ความรู้ที่เกิดขึ้นใหม่ และให้นักเรียนสรุปองค์ความรู้โดย ลงในใบกิจกรรม

ขั้นสรุป
          ๕.๔ ครูและนักเรียนช่วยกันอภิปรายเกี่ยวกับวิธีการสรุปองค์ความรู้ 
           ๕.๕ นักเรียนนำข้อมูลของแต่ละกลุ่มมาตรวจสอบแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทุกกลุ่ม เพื่อให้ทุกคนใช้ทักษะการคิดเชื่อมโยงทฤษฎีการเรียนรู้ต่างๆ







๖.การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการกับกิจกรรมการเรียนรู้
๖.๑  ผู้สอนใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
หลักพอเพียง
พอประมาณ
มีเหตุผล
ภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
เวลา
ครูใช้เวลาที่เหมาะสม
จัดสรรเวลาให้เป็นไปอย่างราบรื่น
จัดสรรเวลาให้ผู้เรียนที่ไม่ร่วมกิจกรรม
เนื้อหา
เนื้อหาสอดคล้องกับผลการเรียนรู้

มีความมุ่งมั่นให้นักเรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์การสรุปองค์ความรู้
วางแผนจัดกิจกรรมอย่างมีระบบ
การจัดกิจกรรม
เหมาะสมกับระดับผู้เรียน
เรียนจากเรื่องง่ายไปยาก
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองเมื่อครูจัดกิจกรรมตามลำดับ
ถ้ากิจกรรมไม่เป็นไปตามกำหนด ครูมอบหมายงานให้ผู้เรียนไปค้นนอกเวลา
สื่อ อุปกรณ์
มีเพียงพอกับการศึกษา
เมื่อมีอุปกรณ์พร้อมผู้เรียนสนใจที่จะเรียนรู้
มีอุปกรณ์เหมาะสมกับกิจกรรมช่วยลดภาระครูสอนแทน
แหล่งเรียนรู้
จัดเตรียมสื่อ/แหล่งเรียนรู้ตามความเหมาะสมกับกิจกรรม
กระตุ้นให้ผู้เรียนศึกษาแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกโรงเรียน
ครูตรวจสอบความปลอดภัยของสื่อและแหล่งเรียนรู้
การวัดประเมินผล
ใช้วิธีหลากหลายเหมาะสมกับเวลาที่จัดกิจกรรม
เลือกวิธีที่เหมาะสมสามารถนำผู้เรียนสู่เป้าหมายได้
ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวัดผล
มีคำอธิบายให้ครูที่สอนแทนเข้าใจ
เงื่อนไขความรู้
มาตรฐาน สาระการเรียนรู้  ผลการเรียนรู้  การจัดกิจกรรม สื่อ/แหล่งเรียนรู้
เนื้อหาเรื่อง การสรุปองค์ความรู้
เงื่อนไขคุณธรรม
มุ่งมั่นทำงาน  ความพยายาม  ใฝ่เรียนรู้



๖.๒ ผู้เรียนมีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง
พอประมาณ
มีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
ผู้เรียนทำกิจกรรมตามที่ครูมอบหมาย โดยแบ่งหน้าที่ตามความสามารถ ความถนัด
ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
ผู้เรียนวางแผน จัดสรรเวลา
มีความรับผิดชอบงานที่ครูมอบหมาย
เงื่อนไขความรู้
ผู้เรียนรู้จักการสรุปองค์ความรู้
เงื่อนไขคุณธรรม
ผู้เรียนมีค่านิยมการเขียนอย่างสร้างสรรค์ มีความรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย

๖.๓  ผลลัพธ์ ( KPA ) ๔ มิติเกี่ยวข้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
                 
สาระการเรียนรู้
อยู่อย่างพอเพียง..............สมดุลพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
วัตถุ
สังคม
สิ่งแวดล้อม
วัฒนธรรม
ความรู้
มีทรัพยากร สื่อให้สืบค้นอย่างพอเพียง
ได้ศึกษาแนวทางการเขียนสรุปองค์ความรู้จากสื่อต่างๆและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม
เข้าใจประเด็นปัญหาและหาวิธีการแก้ไข
ตระหนักถึงคุณค่าของการศึกษาค้นคว้าอย่างสร้างสรรค์
ทักษะ
เลือกสรุปประเด็นความรู้
รู้หน้าที่ของตนเอง
เขียนสรุปองค์ความรู้ ขอบเขตแต่ละส่วนให้สัมพันธ์กัน
มีมารยาทในการเขียนไม่ลอกงานผู้อื่น
ค่านิยม
เห็นคุณค่าและประโยชน์ของการศึกษา
ยอมรับและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น
มีค่านิยมในการอนุรักษ์ภาษาไทย
สร้างความตระหนักในการอนุรักษ์ภาษาไทย

๗. สื่อและแหล่งเรียนรู้
สื่อ      :       ใบบันทึกกิจกรรม
แหล่งเรียนรู้      : ห้องสมุดทั้งในและนอกโรงเรียน

๘. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เป้าหมาย
หลักฐาน
วิธีวัด
เครื่องมือวัด
สาระสำคัญ
การสังเคราะห์สรุปองค์ความรู้

การเรียนรู้ ข้อที่ ๗
แบบบันทึกการสรุปองค์ความรู้
ตรวจการบันทึกสรุปองค์ความรู้
บันทึกการสรุปองค์ความรู้
คุณลักษณะ
มุ่งมั่นในการทำงาน
บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
๑. ผลการจัดการเรียนรู้
          ๑.๑ ด้านความรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
          ๑.๒ ด้านทักษะกระบวนการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
          ๑.๓ ด้านคุณลักษณะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๒. ปัญหาที่ต้องพัฒนา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๓. ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
๔. ความคิดเห็นของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................




    .....................................................
      (........................................................)
 ตำแหน่ง................................................................                                                                                                 



ลงชื่อ...........................................................
       (นางสาวประภาพร  นามเขตร์)
         นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพฯ





แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๕ – ๑๘
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย           รายวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้    รหัสวิชา I๓๑๒๐๑                   
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔                      ภาคเรียนที่ ๑            ปีการศึกษา  ๒๕๕๗
หน่วยที่  ๓  รอบคอบมีปัญญา    เรื่อง  การเสนอแนวคิดการแก้ปัญหา                       เวลา ๒ ชั่วโมง
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
๑. ผลการเรียนรู้  เสนอแนวคิดการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบด้วยองค์ความรู้จากการค้นพบจากแผนการทำงานของนักเรียน

๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ 
๑. อธิบายวิธีการเสนอแนวคิดและการแก้ปัญหาได้

๓. สาระสำคัญ  การสังเคราะห์และสรุปองค์ความรู้จากประเด็นปัญหาที่สนใจ จะช่วยให้ได้ข้อสรุปของประเด็นปัญหาที่สนใจ และช่วยในการเสนอแนวคิด   การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบจากองค์ความรู้ที่ค้นพบและแผนการทำงานของตนเอง
๔.  สาระการเรียนรู้
๔.๑. ความรู้   การเสนอแนวคิด การแก้ปัญหา
๔.๒. ทักษะ/กระบวนการ   กระบวนการกลุ่ม
๔.๓. คุณลักษณะ  มุ่งมั่นในการทำงาน                                                                                     ๔.๔. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน  ความสามารถในการคิด

๕. กิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นนำ
                ๕.๑ ครูสนทนากับนักเรียนว่าการทำงานแต่ละครั้งทุกคนต้องพบปัญหาและอุปสรรค นักเรียนมีวิธีการแก้ปัญหาทั้งทางตรงและทางอ้อม ซึ่งแล้วแต่นักเรียนจะหาวิธีการใด

ขั้นสอน
                ๕.๒ ครูสอบถามนักเรียน ๒ -๓ คน ว่านักเรียนพบปัญหาอะไรบ้างระหว่างการศึกษาค้นคว้า นักเรียนมีวิธีแก้ปัญหาอย่างไรมี   
          ๕.๓ ครูและนักเรียนช่วยกันตรวจสอบและวิพากย์งานแต่ละกลุ่ม

ขั้นสรุป
          ๕.๔ ครูและนักเรียนช่วยกันอภิปรายเกี่ยวกับวิธีการเสนอแนวคิด และการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
          ๕.๕ ครูมอบหมายนักเรียนแต่ละกลุ่มบันทึกกิจกรรมที่ร่วมกันอภิปรายลงในใบบันทึกกิจกรรมโดยใช้เหตุผลเชื่อมโยงความรู้ตามทฤษฎีความรู้จากกลุ่มสาระต่าง ๆ





                            
๖.การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการกับกิจกรรมการเรียนรู้
๖.๑  ผู้สอนใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
หลักพอเพียง
พอประมาณ
มีเหตุผล
ภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
เวลา
ครูใช้เวลาที่เหมาะสม
จัดสรรเวลาให้เป็นไปอย่างราบรื่น
จัดสรรเวลาให้ผู้เรียนที่ไม่ร่วมกิจกรรม
เนื้อหา
เนื้อหาสอดคล้องกับผลการเรียนรู้

มีความมุ่งมั่นให้นักเรียนมีทักษะการแก้ปัญหา
วางแผนจัดกิจกรรมอย่างมีระบบ
การจัดกิจกรรม
เหมาะสมกับระดับผู้เรียน
เรียนจากเรื่องง่ายไปยาก
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองเมื่อครูจัดกิจกรรมตามลำดับ
ถ้ากิจกรรมไม่เป็นไปตามกำหนด ครูมอบหมายงานให้ผู้เรียนไปค้นนอกเวลา
สื่อ อุปกรณ์
มีเพียงพอกับการศึกษา
เมื่อมีอุปกรณ์พร้อมผู้เรียนสนใจที่จะเรียนรู้
มีอุปกรณ์เหมาะสมกับกิจกรรมช่วยลดภาระครูสอนแทน
แหล่งเรียนรู้
จัดเตรียมสื่อ/แหล่งเรียนรู้ตามความเหมาะสมกับกิจกรรม
กระตุ้นให้ผู้เรียนศึกษาแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกโรงเรียน
ครูตรวจสอบความปลอดภัยของสื่อและแหล่งเรียนรู้
การวัดประเมินผล
ใช้วิธีหลากหลายเหมาะสมกับเวลาที่จัดกิจกรรม
เลือกวิธีที่เหมาะสมสามารถนำผู้เรียนสู่เป้าหมายได้
ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวัดผล
มีคำอธิบายให้ครูที่สอนแทนเข้าใจ
เงื่อนไขความรู้
มาตรฐาน สาระการเรียนรู้  ผลการเรียนรู้  การจัดกิจกรรม สื่อ/แหล่งเรียนรู้
เนื้อหาเรื่อง การแก้ปัญหา
เงื่อนไขคุณธรรม
มุ่งมั่นทำงาน  ความพยายาม  ใฝ่เรียนรู้
๖.๒ ผู้เรียนมีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง
พอประมาณ
มีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
ผู้เรียนทำกิจกรรมตามที่ครูมอบหมาย โดยแบ่งหน้าที่ตามความสามารถ ความถนัด
ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
ผู้เรียนวางแผน จัดสรรเวลา
มีความรับผิดชอบงานที่ครูมอบหมาย
เงื่อนไขความรู้
ผู้เรียนรู้จักการแก้ปัญหา
เงื่อนไขคุณธรรม
ผู้เรียนมีค่านิยมการเขียนอย่างสร้างสรรค์ มีความรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย

๖.๓  ผลลัพธ์ ( KPA ) ๔ มิติเกี่ยวข้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
                 
สาระการเรียนรู้
อยู่อย่างพอเพียง..............สมดุลพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
วัตถุ
สังคม
สิ่งแวดล้อม
วัฒนธรรม
ความรู้
มีทรัพยากร สื่อให้สืบค้นอย่างพอเพียง
ได้ศึกษาแนวทางการแก้ปัญหาจากสื่อต่างๆและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม
เข้าใจประเด็นปัญหาและหาวิธีการแก้ไข
ตระหนักถึงคุณค่าของการศึกษาค้นคว้าอย่างสร้างสรรค์
ทักษะ
เลือกศึกษาประเด็นที่ตนสนใจ
รู้หน้าที่ของตนเอง
เขียนวิธีแก้ปัญหา ขอบเขตแต่ละส่วนให้สัมพันธ์กัน
มีมารยาทในการเขียนไม่ลอกงานผู้อื่น
ค่านิยม
เห็นคุณค่าและประโยชน์ของการศึกษา
ยอมรับและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น
มีค่านิยมในการอนุรักษ์ภาษาไทย
สร้างความตระหนักในการอนุรักษ์ภาษาไทย

๗. สื่อและแหล่งเรียนรู้
สื่อ      :             ใบบันทึกกิจกรรม
แหล่งเรียนรู้      : ห้องสมุดทั้งในและนอกโรงเรียน
๘. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เป้าหมาย
หลักฐาน
วิธีวัด
เครื่องมือวัด
สาระสำคัญ


การเรียนรู้ ข้อที่ ๘
แบบบันทึกการเสนอแนวคิดแก้ปัญหา
ตรวจการบันทึกเสนอแนวคิดการแก้ปัญหา
บันทึกการเสนอแนวคิดการแก้ปัญหา
คุณลักษณะ
มุ่งมั่นในการทำงาน








บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
๑. ผลการจัดการเรียนรู้
          ๑.๑ ด้านความรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
          ๑.๒ ด้านทักษะกระบวนการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
          ๑.๓ ด้านคุณลักษณะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๒. ปัญหาที่ต้องพัฒนา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๓. ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
๔. ความคิดเห็นของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................




    .....................................................
      (........................................................)
 ตำแหน่ง................................................................                                                                                                



ลงชื่อ...........................................................
       (นางสาวประภาพร  นามเขตร์)
         นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพฯ





แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๘
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย           รายวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้    รหัสวิชา I๓๑๒๐๑                   
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔                      ภาคเรียนที่ ๑            ปีการศึกษา  ๒๕๕๗
หน่วยที่ ๓  รอบคอบมีปัญญา          เรื่อง  การแก้ไขปัญหา                       เวลา ๒ ชั่วโมง
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
๑. ผลการเรียนรู้  สังเคราะห์ความรู้ สรุปองค์ความรู้ด้วยกระบวนการกลุ่ม

๒. จุดประสงค์การเรียนรู้  การเสนอแนวคิดและการแก้ปัญหา

๓. สาระสำคัญ  การสังเคราะห์และสรุปองค์ความรู้จากประเด็นปัญหาที่สนใจ จะช่วยให้ได้ข้อสรุปของประเด็นปัญหาที่สนใจ และช่วยในการเสนอแนวคิด   การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบจากองค์ความรู้ที่ค้นพบและแผนการทำงานของตนเอง
๔.  สาระการเรียนรู้
๔.๑. ความรู้   การเสนอแนวคิด การแก้ปัญหา
๔.๒. ทักษะ/กระบวนการ   กระบวนการกลุ่ม
๔.๓. คุณลักษณะ  มุ่งมั่นในการทำงาน                                                                                      ๔.๔. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน  ความสามารถในการคิด

๕. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ

                ๕.๑ ครูสนทนากับนักเรียนว่าการทำงานแต่ละครั้งทุกคนต้องพบปัญหาและอุปสรรค นักเรียนมีวิธีการแก้ปัญหาทั้งทางตรงและทางอ้อม ซึ่งแล้วแต่นักเรียนจะหาวิธีการใด
ขั้นสอน
                ๕.๒ ครูสอบถามนักเรียน ๒ -๓ คน ว่านักเรียนพบปัญหาอะไรบ้างระหว่างการศึกษาค้นคว้า นักเรียนมีวิธีแก้ปัญหาอย่างไรมี   
          ๕.๓ ครูและนักเรียนช่วยกันตรวจสอบและวิพากย์งานแต่ละกลุ่ม

ขั้นสรุป
          ๕.๔ ครูและนักเรียนช่วยกันอภิปรายเกี่ยวกับวิธีการเสนอแนวคิด และการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
          ๕.๕ ครูมอบหมายนักเรียนแต่ละกลุ่มบันทึกกิจกรรมที่ร่วมกันอภิปรายลงในใบบันทึกกิจกรรม
                            
๖.การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการกับกิจกรรมการเรียนรู้

๖.๑  ผู้สอนใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
หลักพอเพียง
พอประมาณ
มีเหตุผล
ภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
เวลา
ครูใช้เวลาที่เหมาะสม
จัดสรรเวลาให้เป็นไปอย่างราบรื่น
จัดสรรเวลาให้ผู้เรียนที่ไม่ร่วมกิจกรรม
เนื้อหา
เนื้อหาสอดคล้องกับผลการเรียนรู้

มีความมุ่งมั่นให้นักเรียนมีทักษะการแก้ปัญหา
วางแผนจัดกิจกรรมอย่างมีระบบ
การจัดกิจกรรม
เหมาะสมกับระดับผู้เรียน
เรียนจากเรื่องง่ายไปยาก
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองเมื่อครูจัดกิจกรรมตามลำดับ
ถ้ากิจกรรมไม่เป็นไปตามกำหนด ครูมอบหมายงานให้ผู้เรียนไปค้นนอกเวลา
สื่อ อุปกรณ์
มีเพียงพอกับการศึกษา
เมื่อมีอุปกรณ์พร้อมผู้เรียนสนใจที่จะเรียนรู้
มีอุปกรณ์เหมาะสมกับกิจกรรมช่วยลดภาระครูสอนแทน
แหล่งเรียนรู้
จัดเตรียมสื่อ/แหล่งเรียนรู้ตามความเหมาะสมกับกิจกรรม
กระตุ้นให้ผู้เรียนศึกษาแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกโรงเรียน
ครูตรวจสอบความปลอดภัยของสื่อและแหล่งเรียนรู้
การวัดประเมินผล
ใช้วิธีหลากหลายเหมาะสมกับเวลาที่จัดกิจกรรม
เลือกวิธีที่เหมาะสมสามารถนำผู้เรียนสู่เป้าหมายได้
ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวัดผล
มีคำอธิบายให้ครูที่สอนแทนเข้าใจ
เงื่อนไขความรู้
มาตรฐาน สาระการเรียนรู้  ผลการเรียนรู้  การจัดกิจกรรม สื่อ/แหล่งเรียนรู้
เนื้อหาเรื่อง การแก้ปัญหา
เงื่อนไขคุณธรรม
มุ่งมั่นทำงาน  ความพยายาม  ใฝ่เรียนรู้
๖.๒ ผู้เรียนมีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง
พอประมาณ
มีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
ผู้เรียนทำกิจกรรมตามที่ครูมอบหมาย โดยแบ่งหน้าที่ตามความสามารถ ความถนัด
ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
ผู้เรียนวางแผน จัดสรรเวลา
มีความรับผิดชอบงานที่ครูมอบหมาย
เงื่อนไขความรู้
ผู้เรียนรู้จักการแก้ปัญหา
เงื่อนไขคุณธรรม
ผู้เรียนมีค่านิยมการเขียนอย่างสร้างสรรค์ มีความรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย

๖.๓  ผลลัพธ์ ( KPA ) ๔ มิติเกี่ยวข้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
                 
สาระการเรียนรู้
อยู่อย่างพอเพียง..............สมดุลพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
วัตถุ
สังคม
สิ่งแวดล้อม
วัฒนธรรม
ความรู้
มีทรัพยากร สื่อให้สืบค้นอย่างพอเพียง
ได้ศึกษาแนวทางการแก้ปัญหาจากสื่อต่างๆและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม
เข้าใจประเด็นปัญหาและหาวิธีการแก้ไข
ตระหนักถึงคุณค่าของการศึกษาค้นคว้าอย่างสร้างสรรค์
ทักษะ
เลือกศึกษาประเด็นที่ตนสนใจ
รู้หน้าที่ของตนเอง
เขียนวิธีแก้ปัญหา ขอบเขตแต่ละส่วนให้สัมพันธ์กัน
มีมารยาทในการเขียนไม่ลอกงานผู้อื่น
ค่านิยม
เห็นคุณค่าและประโยชน์ของการศึกษา
ยอมรับและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น
มีค่านิยมในการอนุรักษ์ภาษาไทย
สร้างความตระหนักในการอนุรักษ์ภาษาไทย

๗. สื่อและแหล่งเรียนรู้
สื่อ      :             ใบบันทึกกิจกรรม
แหล่งเรียนรู้      : ห้องสมุดทั้งในและนอกโรงเรียน

๘. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เป้าหมาย
หลักฐาน
วิธีวัด
เครื่องมือวัด
สาระสำคัญ


การเรียนรู้ ข้อที่ ๓
แบบบันทึกการเขียนโครงร่าง
ตรวจการเขียนโครงร่าง
บันทึกการเขียนโครงร่าง
คุณลักษณะ
มุ่งมั่นในการทำงาน













บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
๑. ผลการจัดการเรียนรู้
          ๑.๑ ด้านความรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
          ๑.๒ ด้านทักษะกระบวนการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
          ๑.๓ ด้านคุณลักษณะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๒. ปัญหาที่ต้องพัฒนา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๓. ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
๔. ความคิดเห็นของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................




    .....................................................
      (........................................................)
 ตำแหน่ง................................................................                                                                                                



ลงชื่อ...........................................................
       (นางสาวประภาพร  นามเขตร์)
         นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพฯ